Custom Search

รายการบล็อก

  • ปัจจัยที่กำหนดอุปสงค์ของสินค้า - ปัจจัยที่กำหนดอุปสงค์ของสินค้า *รายได้ของผู้บริโภค* ความสัมพันธ์ระหว่างรายได้และปริมาณการเสนอซื้อสินค้าขึ้นอยู่กับชนิดของสินค้า ในกรณีสินค้าปกติ (Normal Goo...
    3 ปีที่ผ่านมา
  • การซื้อของผู้บริโภค - พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภค หมายถึง พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคขึ้นสุดท้ายที่ซื้อสินค้าและบริการไปเพื่อกินเองใช้เอง หรือเพื่อกินหรือใช้ภายในครัวเรือน ผู้บ...
    3 ปีที่ผ่านมา
วันศุกร์ที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2558

สรุป จรรยาบรรณวิชาชีพครู

1. ข้อใดคือความหมายของคำว่า จรรยาบรรณวิชาชีพครู
ก. แบบแผนที่ข้าราชการควรประพฤติปฏิบัติ
ข. แบบแผนที่ข้าราชการต้องประพฤติปฏิบัติ
ค. แบบแผนที่ข้าราชการยึดประพฤติปฏิบัติ
ง. ถูกทุกข้อ
 
2. จรรยาบรรณวิชาชีพครู กำหนดขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ในข้อใด
ก. รักษาและส่งเสริมเกียรติคุณ ของผู้ประกอบวิชาชีพครู
ข. รักษาและส่งเสริมชื่อเสียง ของผู้ประกอบวิชาชีพครู
ค. รักษาและส่งเสริมฐานะ ของผู้ประกอบวิชาชีพครู
ง. ถูกทุกข้อ
 
3. จรรยาบรรณวิชาชีพครู กำหนดไว้ในกฎหมายในข้อใด
ก. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 
2535
ข. พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546
ค. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 
2547
ง. ถูกทุกข้อ
4. จากข้อ ได้บัญญัติให้ผู้ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูต้องประพฤติตามมาตรฐานและจรรยาบรรณวิชาชีพตามที่กำหนดในข้อบังคับ ไว้ในมาตราใด
ก. มาตรา 
48 ข. มาตรา 49
ค. มาตรา 50 ง. มาตรา 51
5. ผู้ที่จะเข้ารับราชการครู ต้องมีอายุตามข้อใด
ก. 
18 ปีบริบูรณ์ ข. ไม่ต่ำกว่า 18 ปีบริบูรณ์
ค. 
20 ปีบริบูรณ์ ง. ไม่ต่ำกว่า 20 ปีบริบูรณ์
6. ผู้ที่จะขอรับใบประกอบวิชาชีพครู ต้องมีอายุตามข้อใด
ก. 
18 ปีบริบูรณ์ ข. ไม่ต่ำกว่า 18 ปีบริบูรณ์
ค. 
20 ปีบริบูรณ์ ง. ไม่ต่ำกว่า 20 ปีบริบูรณ์
7. มาตรฐานวิชาชีพครู มีจำนวนกี่มาตรฐาน
ก. 
มาตรฐาน ข. มาตรฐาน
ค. 
มาตรฐาน ง. มาตรฐาน
8. มาตรฐานวิชาชีพครูไทยในข้อใดที่กำหนดให้เป็นจรรยาบรรณของวิชาชีพ
ก. มาตรฐานการปฏิบัติตน 
ข. มาตรฐานการปฏิบัติงาน
ค. มาตรฐานความรู้ และประสบการณ์วิชาชีพ
ง. มาตรฐานการสอน
 
9. จรรยาบรรณวิชาชีพครู มีจำนวนเท่าใด
ก. 
3 จรรยาบรรณ ข. 5 จรรยาบรรณ
ค. 
7 จรรยาบรรณ ง. 9 จรรยาบรรณ
10. องค์กร หรือองค์คณะบุคคลในข้อใดเป็นผู้กำหนดข้อบังคับว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพครู
ก. คุรุสภา ข. คณะกรรมการมาจรฐานวิชาชีพ
ค. คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ง. ถูกทุกข้อ
 
11. จรรยาบรรณครู พ.ศ. 2539 มีจำนวนกี่ข้อ
ก. 
ข้อ ข. ข้อ
ค. 
ข้อ ง. ข้อ
12. ข้อใดไม่ได้กำหนดไว้ในจรรยาบรรณครู พ.ศ. 2539
ก. ครูต้องรักและเมตตาศิษย์ ข. ครูย่อมรักและศรัทธาในวิชาชีพครู
ค. ครูย่อมเป็นบุคคลที่ประหยัดและมัธยัสถ์ ง. กำหนดไว้ทุกข้อที่กล่าวมา
13. บุคคลซึ่งได้รับความเสียหายจากการประพฤติผิดจรรยาบรรณของวิชาชีพของผู้ได้รับใบอนุญาต มีสิทธิกล่าวหาผู้ได้รับใบอนุญาตผู้นั้นโดยทำเรื่องยื่นต่อผู้ใด
ก. คุรุสภา ข. คณะกรรมการคุรุสภา
ค. คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ ง. ถูกทุกข้อที่กล่าวมา
 
14. จากข้อ 13 สิทธิกล่าวโทษสิ้นสุดเมื่อระยะเวลาตามข้อใดนับแต่ผู้กล่าวโทษรู้เรื่องการประพฤติผิดจรรยาบรรณวิชาชีพครู และรู้ตัวผู้ประพฤติผิด
ก. พ้น 
ปี ข. พ้น ปี
ค. พ้น 
3 ปี ง. พ้น ปี
15. จากข้อ 13 ผู้มีอำนาจวินิจฉัยชี้ขาดโทษ คือ ข้อใด
ก. คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ข. คณะกรรมการครุสภา
ค. กรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
ง. คณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลาการศึกษา
21. ในกรณีที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ทางการศึกษาใครเป็นผู้กำหนดให้เขตพื้นที่การ ศึกษาสามารถขยายบริการการศึกษาออกไปในเขตพื้นที่การศึกษาอื่นได้
ก. คณะรัฐมนตรี
ข. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
ค. คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ง. คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา

22. 
ข้อใด คือการจัดระเบียบบริหารราชการของเขตพื้นที่การศึกษา
ก. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ข. สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
ค. ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น
ง. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษาขั้นพื้นฐานหรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น

23. 
การแบ่งส่วนราชการในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาให้ดำเนินการตามข้อใด
ก. กฎกระทรวง
ข. ระเบียบ
ค. ประกาศกระทรวง
ง. ระเบียบของคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา

24. 
การแบ่งส่วนราชการในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานให้ดำเนินการตามข้อใด
ก. กฎกระทรวง
ข. ประกาศกระทรวง
ค. ระเบียบที่คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษากำหนด
ง. ระเบียบที่คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนด

25. สถานศึกษาที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานตามข้อใดมีฐานะเป็นนิติบุคคล
ก.โรงเรียน
ข. สถานพัฒนาเด็กเล็ก
ค. ศูนย์การเรียน
ง. ถูกทุกข้อ

26. 
ผู้แทนจากกลุ่มบุคคลใดไม่ใช่องค์ประกอบของคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
ก. ผู้แทนองค์กรเอกชน
ข. ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ค. ผู้แทนสมาคมผู้ประกอบวิชาชีพครู
ง. ผู้แทนสมาคมผู้ประกอบวิชาชีพบุคลากรทางการศึกษา

27. 
บุคคลที่ทำหน้าที่ในการกำกับและส่งเสริมสนับสนุนกิจการของสถานศึกษา คือข้อใด
ก. คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
ข. คณะกรรมการสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา ที่ต่ำกว่าปริญญา
ค. คณะกรรมการสถานศึกษาระดับอาชีวศึกษา
ง. ถูกทุกข้อ

28. 
อำนาจหน้าที่ของผู้อำนวยการสถานศึกษา กำหนดไว้ในมาตราใดของ พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
ก. มาตรา 38ข. มาตรา 39ค. มาตรา 40ง. มาตรา 41

29. 
ข้อใดไม่ใช่อำนาจหน้าที่ของผู้อำนวยการสถานศึกษา

ก. บริหารกิจการของสถานศึกษา
ข. ประสานการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา
ค. อนุมัติประกาศนียบัตรและวุฒิบัตรของสถาน ศึกษาตามที่คณะกรรมการสถานศึกษากำหนด
ง. ทำรายงานประจำปีเกี่ยวกับกิจการของสถาน ศึกษาเพื่อเสนอต่อคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา

30. 
องค์กรบริหารงานบุคคลสำหรับข้าราชการพลเรือนในสถานศึกษาที่จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับปริญญาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ
ก. ก.ค.
ข. ก.ค.ศ.
ค. ก.ม.
ง. อ.ก.ค.ศ. อุดมศึกษา
11. ข้อใดไม่ใช่หน้าที่ของผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ
ก. นิเทศให้คำปรึกษาและแนะนำเพื่อ การปรับปรุง
ข. ตรวจราชการ
ค. ศึกษาวิเคราะห์ วิจัย
ง. ติดตาม ประเมินผลนโยบายตามภารกิจ

12. 
หน่วยงานระดับใดสามารถมีผู้ตรวจราชการได้
ก. กระทรวงศึกษาธิการ
ข. กรมหรือหน่วยงานเทียบเท่ากรม
ค. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ง. ถูกทุกข้อ

13. 
ข้อใด คือบทบาทของคณะตรวจราชการในระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ก. ศึกษา วิเคราะห์วิจัย ติดตามและประเมินผล ระดับนโยบาย
ข. ศึกษา วิเคราะห์วิจัย ติดตามและประเมินผล นโยบายตามภารกิจ
ค. ศึกษา วิเคราะห์วิจัย นิเทศติดตามและประเมิน ผลการบริหารและการดำเนินงาน
ง. ศึกษา วิเคราะห์วิจัย นิเทศติดตามและประเมิน ผลตามมติคณะรัฐมนตรี

14. 
ข้อใด คือบทบาทของกระทรวงศึกษาธิการที่มีต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ก. ประเมินความพร้อมในการจัดการศึกษา
ข. เสนอแนะการจัดสรรงบประมาณอุดหนุนการ จัดการศึกษา
ค. ประสานส่งเสริมการจัดการศึกษา
ง. ถูกทุกข้อ

15. 
ในกรณีที่สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาไม่อาจจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานหรือการ ศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับต่ำกว่าปริญญาได้หน่วยงานใดจะเป็นผู้จัด
ก. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
ข. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ค. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
ง. สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

16. 
หน่วยงานอื่นสามารถจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานใดได้บ้าง หากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาไม่สามารถจัดได้
ก. การจัดการศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบหรือตามอัธยาศัย
ข. การจัดการศึกษาสำหรับคนที่มีความสามารถ พิเศษ
ค. การจัดการศึกษาสำหรับผู้ที่มีความบกพร่อง ทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม การสื่อสารและการเรียนรู้หรือมีร่างกายพิการ หรือทุพพลภาพ
ง. ถูกทุกข้อ

17. 
ใครเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสำนักงานรองจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
ก. ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
ข. เลขาธิการ
ค. ผู้ช่วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
ง. ข้อ ก และ ข

18. 
ใครเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสถานศึกษาของรัฐในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ก. ปลัดกระทรวงศึกษาธิ การ
ข. เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ค. เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา
ง. เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

19. 
การบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้คำนึงถึงสิ่งใดน้อยที่สุด
ก. จำนวนนักเรียน
ข. ปริมาณสถานศึกษา
ค. จำนวนประชากร
ง. วัฒนธรรมและความเหมาะสมด้านอื่น

20. 
ใครมีอำนาจประกาศกำหนดเขตพื้นที่การศึกษา
ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษา
ข. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาโดยคำแนะนำของสภาการศึกษา
ค. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการโดยคำยินยอมของสภาการศึกษา
ง. คณะรัฐมนตรี
1. พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษา พ.ศ. 2546 มีผลบังคับใช้วันใด
ก. กรกฏาคม 2546ข. กรกฏาคม 2546ค. กรกฏาคม 2546ง. กรกฏาคม 2546

2. 
การจัดระเบียบกระทรวงศึกษาธิการจัดได้เป็น ส่วนคือข้อใด

ก. ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และสถานศึกษา
ข. ส่วนกลาง เขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาของรัฐระดับปริญญาที่เป็นนิติบุคคล
ค. ส่วนกลาง ส่วนท้องถิ่น และสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน
ง. ส่วนกลาง เขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

3. 
ข้อใดไม่ใช่อำนาจหน้าที่ของสภาการศึกษา
ก. พิจารณาเสนอแผนการศึกษาแห่งชาติ
ข. พิจารณาเสนอนโยบายแผนและมาตรฐานการศึกษา
ค. ประเมินผลการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ง. พิจารณาเสนอนโยบายและแผนในการสนับสนุนทรัพยากรเพื่อการศึกษา

4.
การกำหนดตำแหน่งและอัตราเงินเดือนของข้าราชการในกระทรวงศึกษาธิการไม่คำนึงถึงข้อใด
ก. คุณวุฒิ ประสบการณ์ และมาตรฐานวิชาชีพ
ข. ลักษณะหน้าที่ความรับผิดชอบ
ค. เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น
ง. คุณภาพงาน

5. 
บทบาทของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ที่จะต้องดำเนินการตาม พรบ. นี้คือข้อใด
ก. อำนาจในการออกกฎกระทรวง ระเบียบและประกาศ
ข. ตีความและวินิจฉัยชี้ขาดปัญหาการปฏิบัติหน้าที่ของผู้ดำรงตำแหน่งและหน่วยงาน
ค. บรรจุแต่งตั้งข้าราชการ
ง. ข้อ ก และ ข ถูกต้อง

6. 
ข้อใดคือการจัดระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง
ก. ส่วนราชการที่ขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการ
ข. สำนักงานปลัดกระทรวง
ค. สำนักงานรัฐมนตรี
ง. ถูกทุกข้อ ก และ ข

7. 
ใครเป็นประธานคณะกรรมการสภาการศึกษา
ก. คณะกรรมการสภาคัดเลือกกันเอง
ข. ผู้ทรงคุณวุฒิที่คณะกรรมการคัดเลือก
ค. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
ง. เลขาธิการสภาการศึกษาแห่งชาติ

8. 
คณะกรรมการชุดใดที่กำหนดตำแหน่งประธานกรรมการไว้ใน พรบ. นี้
ก. คณะกรรมการสภาการศึกษา
ข. คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ค. คณะกรรมการการอุดมศึกษา
ง. คณะกรรมการการอาชีวศึกษา

9. 
ใครทำหน้าที่รับผิดชอบงานเลขานุการของคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ก. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ข. เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ค. ผู้ที่เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐานมอบหมาย
ง. ข้อ ก และ ข ถูกต้อง

10. 
บุคคลใดต่อไปนี้เป็นข้าราชการการเมือง
ก. ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
ข. เลขาธิการรัฐมนตรี
ค. รองเลขาธิการรัฐมนตรี
ง. ข้อ ข และ ค ถูก
1. โปรแกรมใดที่ใช้สำหรับทำตารางรายจ่าย  คะแนนนักเรียน  หรือพิมพ์เอกสารอย่างง่าย  โดยไม่ต้องเขียนโปรแกรม
ก.   Word                                                                     ข.   Excel
ค.   PowerPoint                                                          ง.   Photoshop
ตอบ   ข.   Excel                                                         
2. ตัวเลือกในข้อใดคือรูปแบบของสูตรที่ถูกต้องของโปรแกรมตารางทำการ (Spreadsheet)
ก.   S1 + Z2 =                                                            ข.   + = S1 Z1
ค.   S1 + Z1                                                                ง.   = S1 + Z1
ตอบ  ง.   = S1 + Z1
3. ฟังก์ชั่นที่ใช้ในการนับคือ
ก.   Count                                                                     ข.   Max
ค.   Min                                                                        ง.   Average 
ตอบ  ก.   Count
4. การเลื่อน Sheet ไปด้านขวาทีละครั้งจะสั่งได้ตามข้อใด
ก.   Ctrl + PageUp                                                     ข.   Ctrl + PageDown
ค.   Alt + -                                                                   ง.   Alt + End
ตอบ   ข.   Ctrl + PageDown
5. ต้องการหาฟังก์ชั่นใช้ผลรวมอะไร
ก.   Count                                                                     ข.   Sum
ค.   Average                                                                ง.   Min
ตอบ  ข.   Sum
6. ต้องการหาค่าต่ำสุดใช้ฟังก์ชั่นอะไร
ก.   Count                                                                     ข.   Sum
ค.   Average                                                                ง.   Min
ตอบ   ง.   Min
7. ฟังก์ชั่นที่ใช้ในการหาค่าเฉลี่ยคือ
ก.   Count                                                                     ข.   Sum
ค.   Average                                                                ง.   Min
ตอบ   ค.   Average
 
8. ฟังก์ชั่นที่ใช้ในการหาค่าสูงสุดคือ
ก.   Max                                                                        ข.   Sum
ค.   Count                                                                     ง.   Min
ตอบ  ก.   Max
9. หากป้อนข้อมูลลงในเซลของโปรแกรม MS-EXEL  เป็นตัวเลข 01/5 ผลลัพธ์ที่แสดงบนแถบสูตรคือข้อใด
ก.   01/5                                                                        ข.   0.50
ค.   1/5                                                                          ง.   0.05
ตอบ   ค.   1/5
10. การทำงานในไมโครซอฟต์เอกเซล (Microsoft Excel)  จะกระทำ ณ ช่องต่างๆ ที่เกิดขึ้นจากการตัดกันของแถวและคอลัมน์  เราเรียกช่องเหล่านี้ว่าอะไร
ก.   ชีท (Sheet)                                                           ข.   เวิร์คชีท (Work Sheet)
ค.   เซลล์ (Call)                                                          ง.   ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ   ค.   เซลล์ (Call)