Custom Search

รายการบล็อก

  • ปัจจัยที่กำหนดอุปสงค์ของสินค้า - ปัจจัยที่กำหนดอุปสงค์ของสินค้า *รายได้ของผู้บริโภค* ความสัมพันธ์ระหว่างรายได้และปริมาณการเสนอซื้อสินค้าขึ้นอยู่กับชนิดของสินค้า ในกรณีสินค้าปกติ (Normal Goo...
    3 ปีที่ผ่านมา
  • การซื้อของผู้บริโภค - พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภค หมายถึง พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคขึ้นสุดท้ายที่ซื้อสินค้าและบริการไปเพื่อกินเองใช้เอง หรือเพื่อกินหรือใช้ภายในครัวเรือน ผู้บ...
    3 ปีที่ผ่านมา
วันเสาร์ที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

แนว นักวิชาการ

1. ในปัจจุบันการปรับปรุงพันธุ์พืชโดยวิธีใดที่ต้องอาศัยความรู้ทางวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีมาช่วย
  . การโน้มกิ่ง การติดตา  
. การต่อกิ่ง การตอน
  . การเพาะเมล็ด การปักชำ  
. การตัดต่อยีน และการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
 2. ส่วนใดของพืชที่สามารถนำมาใช้ในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อได้
  . ยอดอ่อน   . ตาอ่อน 
. อับละอองเรณู   . ถูกทุกข้อ
 3. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช นิยมใช้กับพืชในข้อใด
  . พืชที่ขยายพันธุ์ได้ทีละน้อย  
. พืชที่มีปัญหาเรื่องโรคที่ติดมากับท่อนพันธุ์
  . พืชที่มีปัญหาเรื่องการขยายพันธุ์  
. ถูกทุกข้อ
 4. ในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อต้องนำกลุ่มเซลล์เนื้อเยื่อเจริญไปเลี้ยงในอาหารสูตรสำเร็จเพื่อ
อะไร
  . กระตุ้นให้เกิดรากและลำต้น  
. เร่งให้ออกดอกออกผล
  . เร่งให้ลำต้นและรากเจริญเติบโต  
. ให้กลุ่มเซลล์เนื้อเยื่อเจริญกลายเป็นแคลลัส
5. สิ่งสำคัญที่สุดที่ต้องระมีดระวังในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช คือข้อใด
  . เทคนิคปลอดเชื้อ  
. เทคนิคการตัดแบ่งเนื้อเยื่อ
  . เทคนิคการเคลื่อนย้ายเนื้อเยื่อ  
. เทคนิคการเตรียมอาหารเพาะเลี้ยง
 6. ทุเรียนไร้หนาม สามารถทำได้โดยวิธีการอย่างไร
  . ใช้สารเคมีทาที่หนามเมื่อทุเรียนอายุได้ 30-45 วัน หลังดอกบาน
  . ใช้ถุงสีน้ำตาลหุ้มดอกทุเรียนไว้ก่อนที่จะกลายเป็นผล
  . ใช้มีดสะกิดหนามออกเมื่อทุเรียนอายุได้ 30-45 วัน หลังดอกบาน
  . ฉีดฮอร์โมนให้หนามร่วงเมื่อทุเรียนอายุได้30-45 วัน หลังดอกบาน

7. ถ้ามีความจำเป็นต้องปลูกพืชบนที่เนิน จะมีวิธีป้องกันการชะล้างหน้าดินได้โดยวิธีใด
  . ปลูกพืชแบบขั้นบันได  . ปลูกพืชหมุนเวียน

  . ปลูกพืชคลุมดิน  . ปลูกพืชสลับ
1 คำกล่าวใดถูกต้องมากที่สุด
 . มิวเทชันเกิดได้เฉพาะเซลล์สืบพันธุ์เท่านั้น
 . สิ่งแวดล้อมทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมได้
 . บริเวณเซลล์ร่างกายทั่ว ๆ ไป ไม่สามารถเกิดมิวเทชันได้
 . มิวเทชันที่เซลล์สืบพันธุ์จะถ่ายทอดลักษณะที่เปลี่ยนแปลงไปสู่ลูกหลานได้
11. เชื้อไรโซเบียมเป็นสิ่งมีชีวิตประเภทใด

  . รา  . ไวรัส  . ยีสต์  . แบคทีเรีย

2. พืชตระกูลถั่วจะตรึงไนโตรเจนได้ดีในช่วงใด
  . สร้างใบ   . สร้างเมล็ด  
. สร้างดอก   . สร้างราก

3. ถ้าฝนแล้ง ท่านจะมีวิธีรักษาความชุ่มชื้นของดินอย่างไร
  . ปลูกพืชคลุมดิน  . ปลูกพืชตระกูลถั่ว
  . ปลูกพืชหมุนเวียน   . ใส่ปุ๋ย
 4. ถ้าท่านจะปลูกพืชหมุนเวียน ต้องคำนึงถึงอะไร
  . ความต้องการของตลาด  . อายุของพืช
  . เลือกพืชให้เหมาะกับฤดูกาล   . ถูกทุกข้อ
 5. การเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร จำเป็นต้องนำเทคโนโลยีต่าง ๆ มาใช้ การกระทำในข้อใดที่
ไม่ใช่การใช้เทคโนโลยี
  . การปรับปรุงดินและการใช้ปุ๋ย  
. การผสมพันธุ์พืชและสัตว์ให้มีคุณภาพ
  . การใช้เครื่องทุ่นแรง  
. การขยายเนื้อที่เพาะปลูก
6. หนอนผีเสื้อต้นรัก มีระยะการเจริญเติบโตช่วงใดนานที่สุด
  . ไข่  ตัวหนอน   . ตัวหนอน  ดักแด้
  . ดักแด้ ตัวเต็มวัย  . ตัวเต็มวัย ไข่
 7. ข้อใดคือความหมายของการควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี
  . ใช้สารเคมีฉีดพ่นแมลงศัตรูพืช
  . ใช้สิ่งมีชีวิตทำลายสิ่งมีชีวิต
  . การใช้เครื่องมือประยุกต์กำจัดศัตรูพืช  
  . การทำลายส่วนต่าง ๆ ของพืชที่แมลงอาศัยอยู่
 8. การควบคุมศัตรูพืช และสัตว์ที่นิยมใช้กันมากที่สุดในปัจจุบัน คือวิธีใด
  . ใช้สารเคมี   . ใช้เครื่องมือทางกล
  . ใช้เครื่องมือประยุกต์   . ใช้วิธีชีวภาพ
 9. สารในข้อใดที่ช่วยเร่งการสุกของผลไม้
  . จิบเบอเรลลิน   . ไซโทไคนิน  
. เอทิลีน   . ออกซิน
10. การใช้สารเคมีกับพืชเร่งให้พืชเจริญงอกงาม จะต้อง
  . ใช้สารเคมีในปริมาณน้อย ๆ ก็พอ  
. ใช้สารเคมีในปริมาณมาก ๆ จึงได้ผล
  . ใช้ในปริมาณไม่มากไม่น้อยจนเกินไป
 . ต้องลองใช้ดูก่อน ได้ผลแล้วจึงใช้จริงจัง

วันพุธที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

แนวข้อสอบนิติกร

1. ชาวบ้านนำเงินไปร่วมกันทอดผ้าป่าให้สำนักสงฆ์แห่งหนึ่งเป็นจำนวน 150,000 บาท ต่อมาเงินจำนวนดังกล่าวสูญหายไป ผู้ใดต่อไปนี้เป็นผู้เสียหาย
                ถ้า ก  เป็นเจ้าคณะสงฆ์ ส่วน ดำ เขียว แดง เหลือง ขาว เป็นผู้ที่ ก  เลือกให้เป็นกรรมการดูแลรับผิดชอบเงินดังกล่าว
                ก. เจ้าคณะสงฆ์
                ข. ชาวบ้านที่ร่วมทำบุญ
                ค. ผู้ที่ถูกรับเลือกให้เป็นกรรมการ
                ง. ข้อ ก  และ  
คำตอบ :  ข้อ  
2. นายเสือและนายสิงห์เป็นบุตรนอกกฎหมายของนายนก นายเสืออายุ 18 ปี ส่วนนายสิงห์ อายุ 16 ปี ทั้งเป็นพี่น้องร่วมมารดาเดียวกัน ต่อมานายสิงห์ถูกนายมือทำร้ายจนตาย ต่อไปนี้ผู้ใด ไม่ใช่ผู้มีอำนาจจัดการแทนนายสิงห์ผู้ตาย
                ก. นายนก
                ข. นายเสือ
                ค. ถูกทุกข้อ
                ง. ไม่มีข้อถูก
คำตอบ :  ข้อ  ข. 
3. ข้อใดเป็นหลักเกณฑ์การขอออกหมายขังผู้ต้องหา
                ก. ผู้ต้องหานั้นไม่ใช่ผู้ถูกจับและมิได้มีการออกหมายจับ
                ข. ต้องมีการแจ้งข้อกล่าวหาแก่ผู้ต้องหาแล้ว
                ค. ผู้ต้องหาถูกเรียกหรือเข้าหาพนักงานสอบสวนเอง
                ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ :  ข้อ ง.
4. ความผิดฐานพรากผู้เยาว์โดยผู้เยาว์ไม่เต็มใจ ผู้ใดเป็นผู้เสียหาย
                ก. ผู้เยาว์
                ข. บิดา
                ค. มารดา
                ง.  ถูกทั้ง ข และ ค
คำตอบ :  ข้อ  ง.
5. ข้อใด ไม่ใช่ หลักเกณฑ์ในเรื่องผู้เสียหายร้องขอเข้าร่วมเป็นโจทก์กับพนักงานอัยการ
                ก. พนักงานอัยการยื่นฟ้องแล้ว ผู้เสียหายยื่นคำร้องขอเข้าร่วมเป็นโจทก์กับพนักงานอัยการ
                ข. ผู้เสียหายเข้าเป็นโจทก์ร่วมได้ทั้งคดีความผิดส่วนตัวและคดีที่มิใช่ความผิดต่อส่วนตัว
                ค. ผู้เสียหายต้องยื่นคำร้องขอเข้าเป็นโจทก์ร่วมในระยะใดระหว่างพิจารณาก่อนศาลชั้นต้นมีคำ       พิพากษา
                ง. ผู้เสียหายต้องยื่นคำร้องขอเข้าเป็นโจทก์ในระยะใดระหว่างพิจารณาก่อนคดีเสร็จเด็ดขาด
คำตอบ :  ข้อ ง.
6. ข้อใด ไม่ใช่ หลักเกณฑ์ในเรื่องการรวมพิจารณาคดีเป็นคดีเดียวกัน
                ก. ต้องเป็นคดีอาญาเรื่องเดียวกัน
                ข. คดีอาญาเรื่องเดียวกันนั้น ทั้งพนักงานอัยการและผู้เสียหายต่างได้ยื่นฟ้องในศาลชั้นต้นเดียวกัน  หรือต่างศาลกัน
                ค.  ต้องสั่งรวมพิจารณาในระยะใดระหว่างพิจารณาก่อนศาลชั้นต้นมีคำพิพากษา
                ง. กรณีที่ยื่นฟ้องจำเลยต่างศาลกันศาลจะสั่งให้รวมพิจารณาเป็นคดีเดียวกันไม่ได้เว้นแต่จะได้รับ    ความยินยอมของศาลอื่นนั้นก่อน
คำตอบ :  ข้อ  ค. 
7. ในการงดการสอบสวนคดีอาญา มีเหตุกี่กรณี
                ก.   2   กรณี
                ข.  5    กรณี
                ค.   3   กรณี
                ง.   7    กรณี
คำตอบ :  ข้อ   ก.
8. ข้อใดต่อไปนี้พนักงานสอบสวนไม่สามารถทำการสอบสวนได้
                ก. ท้องที่เกิดเหตุ
                ข. ท้องที่ผู้ต้องหามีที่อยู่
                ค. ท้องที่ที่ผู้ต้องหาถูกจับ
                ง. ท้องที่ที่ผู้เสียหายมีที่อยู่
คำตอบ :  ข้อ  ง.
9. บุคคลใดมีอำนาจสั่งโอนในเรื่องการโอนคดีในกรณีไม่ปกติ
                ก. ประธานศาลชั้นต้น
                ข. ประธานศาลฎีกา
                ค. ประธารศาลอุทธรณ์
                ง.  รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
คำตอบ :  ข้อ  ข.
10. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ทำให้สิทธินำคดีอาญามาฟ้องระงับไป
                ก. ความตายของผู้กระทำผิด
                ข. ความผิดต่อส่วนตัวเมื่อถอนคำร้องทุกข์แล้ว ยอมความแล้ว
                ค. เมื่อผู้ต้องหายอมชำระค่าปรับอัตราสูง สำหรับคดีที่มีโทษปรับสถานเดียว
                ง. ไม่มีข้อถูก
คำตอบ :  ข้อ ง.