Custom Search

รายการบล็อก

วันศุกร์ที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2556

แนวข้อสอบพนักงานคอมพิวเตอร์ สำนักงานศาลยุติธรรม

1.          ประธานศาลอุทธรณ์ หมายถึงข้อใด
              ก.   อธิบดีผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์                                        ข.   ผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์ผู้ใดที่ได้รับเลือก
 ค.   อธิบดีผู้พิพากษาศาลฎีกา                                               ง.    ไม่มีข้อถูก
              ระเบียบข้าราชการฝ่ายตุลากร
2.          ข้าราชการศาลยุติธรรม หมายถึงใคร
              ก.   สมศรี เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล 3                                     ข.   สมชาย  ผู้ช่วยผู้พิพากษา
              ค.   สมเดช  เจ้าหน้าที่ศาลยุติธรรม 1                                  ง.    ข้อ ก. และ ค. ถูก
3.          ข้าราชการตุลาการ หมายถึงใคร
              ก.   อนันต์  อธิบดีผู้พิพากษา                                                ข.   อรุณ  ผู้พิพากษาศาลชั้นต้น
              ค.   อดิศร  ผู้ช่วยผู้พิพากษา                                                  ง.    ถูกทุกข้อ
              ฝ่ายตุลาการ
4.          ข้อใดมิใช่ข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม
              ก.   กนิษฐา  ผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์                                    ข.   กรกนก  เจ้าหน้าที่ศาลยุติธรรม 3
              ค.   กษมา  ลูกจ้างชั่วคราว                                                     ง.    ถูกทุกข้อ
              ว่าด้วยระเบียบข้าราชการฝ่ายตุลาการ
5.          คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม เรียกโดยย่อว่าอะไร
              ก.   ก.ศ.                                                                                     ข.   ก.บ.ศ.
              ค.   ค.บ.ศ.                                                                                 ง.    ค.บ.ศ.
6.          คณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรม  เรียกโดยย่อว่าอะไร
              ก.   ก.ศ.                                                                                     ข.   ก.บ.ศ.
              ค.   ค.ข.ศ.                                                                                 ง.    ก.ข.ศ.
7.          ข้อใดกล่าวผิดเกี่ยวกับสำนักงานศาลยุติธรรม
              ก.   เป็นหน่วยงานอิสระ                                                       ข.   มีฐานะเป็นนิติบุคคล
              ค.   เป็นรัฐวิสาหกิจ                                                               
              ง.   การแบ่งส่วนราชการภายในและการกำหนดอำนาจหน้าที่ให้ทำเป็นประกาศ ก.บ.ศ.
8.          สำนักงานศาลยุติธรรมมีหน้าที่อะไร
              ก.   งานธุรการของศาลยุติธรรม                                          ข.   งานส่งเสริมงานตุลาการ
              ค.   งานวิชาการของศาลยุติธรรม                                        ง.    ถูกทุกข้อ        
9.          ข้อใดเป็นหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ประจำศาลยุติธรรมที่จะต้องรับผิดชอบ
              ก.   งานธุรการ                                                                        ข.   งานช่วยค้นคว้าทางวิชาการแก่ผู้พิพากษา
              ค.   ประสานงานกับส่วนราชการต่างๆ                             ง.    ถูกทุกข้อ
              ส่วนราชการต่างๆ และงานอื่นใดตามที่ศาลยุติธรรมมอบหมาย
10.        ใครมีหน้าที่ควบคุมดูแลราชการโดยทั่วไปของสำนักงานศาลยุติธรรม
              ก.   ผู้พิพากษาหัวหน้าคณะ                                                  ข.   เลขาธิการสำนักงานศาลยุติธรรม
              ค.   ผู้อำนวยการศาลยุติธรรม                                               ง.    จ่าศาล
11.        บุคคลใดเป็นผู้แทนของสำนักงานศาลยุติธรรมในกิจการของสำนักงานศาลยุติธรรมที่เกี่ยวข้องกับบุคคลภายนอก
              ก.   ผู้พิพากษาหัวหน้าคณะ                                                  ข.   เลขาธิการสำนักงานศาลยุติธรรม
              ค.   ผู้อำนวยการศาลยุติธรรม                                               ง.    จ่าศาล
12.        ข้อใดเป็นประธานคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม
              ก.   ประธานศาลฎีกา                                                             ข.   อธิบดีศาลอุทธรณ์
              ค.   ผู้พิพากษาศาลชั้นต้น                                                     ง.    ข้อ  ก. และ  ข. ถูก
1. ระเบียบฉบับนี้ให้ยกเลิกระเบียบฉบับใด
ก. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย  ว่าด้วยวิธีงบประมาณขององค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540
ข. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย  ว่าด้วยวิธีงบประมาณของเทศบาล พ.ศ. 2528
ค. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย  ว่าด้วยวิธีงบประมาณสุขาภิบาล พ.ศ. 2531
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ        ง.  ถูกทุกข้อ
                                ข้อ 3  ให้ยกเลิก
1. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย  ว่าด้วยวิธีงบประมาณขององค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540
2. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย  ว่าด้วยวิธีงบประมาณของเทศบาล พ.ศ. 2528
3. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย  ว่าด้วยวิธีงบประมาณของสุขาภิบาล พ.ศ. 2531
4. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย  ว่าด้วยวิธีงบประมาณของเมืองพัทยา พ.ศ. 2531
5. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย  ว่าด้วยวิธีงบประมาณขององค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2538
2. ผู้รักษาการตามระเบียบฉบับนี้คืออะไร
ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
ข. ปลัดกระทรวงมหาดไทย
ค. อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น
ง. ผู้ว่าราชการจังหวัด
ตอบ        ข.  ปลัดกระทรวงมหาดไทย
                                ข้อ 4  ให้ปลัดกระทรวงหมาดไทยรักษาการตามระเบียบนี้  และมีอำนาจตีความวินิจฉัยปัญหา  ยกเว้นการปฏิบัติการตามระเบียบที่กำหนดหลักเกณฑ์  และวิธีปฏิบัติเพื่อดำเนินการให้เป็นไปตามระเบียบนี้
 ปลัดกระทรวงมหาดไทย  อาจมอบอำนาจเรื่องใดเรื่องหนึ่งตามวรรคแรกให้ผู้ว่าราชการจังหวัดได้
3. คณะผู้บริหารท้องถิ่น หมายความว่า
ก. นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด
ข. คณะเทศมนตรี
ค. ประธานกรรมการสุขาภิบาล
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ        ง.  ถูกทุกข้อ
                                “คณะผู้บริหารท้องถิ่น”  หมายความว่า  นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด  คณะเทศมนตรี  ประธานกรรมการสุขาภิบาล ปลัดเมืองพัทยา  และคณะกรรมการบริหารองค์การบริหารส่วนตำบล
4. เจ้าหน้าที่งบประมาณ หมายความว่า
ก. ปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด
ข. ปลัดเทศบาล , ปลัดสุขาภิบาล
ค. หัวหน้าสำนักปลัดเมืองพัทยา , ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ        ง.  ถูกทุกข้อ
                                “เจ้าหน้าที่งบประมาณ”  หมายความว่า  ปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด ปลัดเทศบาล  ปลัดสุขาภิบาล  หัวหน้าสำนักปลัดเมืองพัทยา  และปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล
5. ข้อใดต่อไปนี้เป็นอำนาจหน้าที่ของเจ้าหน้าที่งบประมาณ
ก. เรียกให้หน่วยงานต่าง ๆ เสนองบประมาณรายรับและรายจ่ายตามแบบและหลักเกณฑ์พร้อมด้วยรายละเอียดที่กำหนดตามระเบียบ ข้อบังคับ คำสั่งหรือหนังสือสั่งการกระทรวงมหาดไทย
ข. วิเคราะห์งบประมาณ และการจ่ายเงินของหน่วยงานต่าง ๆ
ค. สั่งการ ควบคุม กำกับ ดูแล เจ้าหน้าที่จัดทำเอกสาร งบประมาณและรวบรวมเป็นร่างงบประมาณรายจ่ายประจำปี
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ        ง.  ถูกทุกข้อ
                                ข้อ 8  ให้เจ้าหน้าที่งบประมาณมีอำนาจหน้าที่จัดทำงบประมาณกับปฏิบัติการอื่นตามที่กำหนดไว้ในระเบียบนี้  และให้มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับงานงบประมาณ ดังต่อไปนี้
1. เรียกให้หน่วยงานต่าง ๆ เสนอประมาณการรายรับ และรายจ่ายตามแบบ  และหลักเกณฑ์พร้อมด้วยรายละเอียดที่กำหนดไว้ตามระเบียบ ข้อบังคับ คำสั่งหรือหนังสือสั่งการกระทรวงมหาดไทย
2. วิเคราะห์งบประมาณและการจ่ายเงินของหน่วยงานต่าง ๆ
3. สั่งการ ควบคุม กำกับ ดูแล เจ้าหน้าที่จัดทำเอกสารงบประมาณ และรวบรวมเป็นร่างงบประมาณรายจ่ายประจำปี
6. องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น  อาจทำงบประมาณรายจ่ายเฉพาะการได้โดยได้รับความเห็นชอบจากหน่วยงานใด
ก. กระทรวงมหาดไทย
ข. กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น
ค. สภาท้องถิ่น
ง. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
ตอบ        ค.  สภาท้องถิ่น
                                ข้อ 11  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  อาจจัดทำงบประมาณรายจ่ายเฉพาะการได้โดยได้รับความเห็นชอบจากสภาท้องถิ่น
7. เงินงบประมาณประเภทใดที่อาจตั้งจ่ายเงินช่วยเหลือระหว่างกันได้
ก. งบประมาณรายจ่ายทั่วไปกับงบประมาณกลาง
ข. งบประมาณเพิ่มเติมกับงบประมาณเฉพาะการ
ค. งบประมาณเฉพาะการกับงบประมาณรายจ่ายทั่วไป
ง. ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ        ค.  งบประมาณเฉพาะการกับงบประมาณรายจ่ายทั่วไป
                                ข้อ 12   งบประมาณรายจ่ายทั่วไป  และงบประมาณรายจ่ายเฉพาะการ  อาจตั้งจ่ายเงินช่วยเหลือระหว่างกันได้
8. รายจ่ายตามแผนงานจำแนกเป็นสองลักษณะ  ลักษณะที่ 1 เป็นลักษณะรายจ่ายประจำ  อยากทราบว่ารายจ่ายลักษณะที่สองคือรายจ่ายเพื่อการลงทุนประกอบด้วยอะไรบ้าง
ก. หมวดค่าครุภัณฑ์
ข. ค่าที่ดิน
ค. ค่าสิ่งก่อสร้าง
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ        ง.  ถูกทุกข้อ
                                ข้อ 14   รายจ่ายตามแผนงาน  จำแนกเป็นสองลักษณะคือ
1. รายจ่ายประจำ  ประกอบด้วย
ก. หมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจำ
ข. หมวดค่าจ้างชั่วคราว
ค. หมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ
ง. หมวดค่าสาธารณูปโภค
จ. หมวดเงินอุดหนุน
ฉ. หมวดรายจ่ายอื่น ๆ
2. รายจ่ายเพื่อการลงทุน  ประกอบด้วย  หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและก่อสร้าง  รายละเอียดประเภทจ่ายงบกลาง  หมวดรายจ่ายต่าง ๆ และเงินนอกงบประมาณให้เป็นไปตามที่กรมการปกครองกำหนด
9. ประมาณรายรับขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  ประกอบด้วยเงินหมวดใดบ้าง
ก. หมวดภาษีอากร
ข. หมวดค่าธรรมเนียม  ค่าปรับและใบอนุญาต
ค. หมวดรายได้จากทรัพย์สิน
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ        ง.  ถูกทุกข้อ
                                ข้อ 17   ประมาณการรายรับขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  ประกอบด้วยรายได้ที่จำแนกเป็น
1. หมวดภาษีอากร
2. หมวดค่าธรรมเนียม ค่าปรับใบอนุญาต
3. หมวดรายได้จากทรัพย์สิน
4. หมวดรายได้จากสาธารณูปโภค  และกิจการพาณิชย์
5. หมวดเงินอุดหนุน
6. หมวดรายได้เบ็ดเตล็ด
10. รายละเอียดประเภทรายได้ และรายจ่ายตามงบประมาณรายจ่าย  เฉพาะการขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่น  ให้เป็นไปตามที่หน่วยงานใดกำหนด
ก. กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น
ข. กรมการปกครอง
ค. สภาท้องถิ่น
ง. กระทรวงมหาดไทย
ตอบ        ข.  กรมการปกครอง
                                ข้อ 18  รายละเอียดประเภทรายได้  และรายจ่ายตามงบประมาณรายจ่ายเฉพาะการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  ให้เป็นไปตามที่กรมการปกครองกำหนด
1.  การส่งเสริมการเกษตร มีความหมายอย่างไร?
 .  การบริการช่วยเหลือประชาชน ชาวไร่ ชาวนา
 .  วิธีการให้การศึกษา เพื่อปรับปรุงเทคนิคทางการเกษตร
 .  การเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตและรายได้ของเกษตรกร
 .  ถูกทุกข้อ
 ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
2.  ข้อใดไม่ใช่ความมุ่งหมายของงานส่งเสริม?
 .  กระตุ้นให้เกิดความเป็นผู้นำในระดับท้องถิ่น
 .  เน้นความสามารถในการช่วยตัวเอง
 .  เน้นให้ประชาชนได้ใช้ทรัพยากร กำลังความสามารถและวัสดุของเขาเอง
 .  รัฐบาลให้ความช่วยเหลือมากที่สุดเท่าที่จะให้ได้
 ตอบ ง. รัฐบาลให้ความช่วยเหลือมากที่สุดเท่าที่จะให้ได้
3.  ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง?
 .  งานส่งเสริม คือระบบการให้การศึกษานอกโรงเรียน
 .  งานส่งเสริมอาศัยความร่วมมือระหว่างรัฐบาลและประชาชน
 .  การส่งเสริมไม่จำเป็นต้องมีห้องเรียนและหลักสูตรของการเรียนการสอนที่แน่นอน
 .  ไม่มีคำตอบ
 ตอบ ง. ไม่มีคำตอบ
4.  การส่งเสริมไม่เกี่ยวข้องกับเรื่องใด?
 .  การผลิตทางการเกษตร  .  คหกรรม
 .  สินเชื่อทางการเกษตร  .  ไม่มีคำตอบ
 ตอบ ง. ไม่มีคำตอบ
5.  การส่งเสริมคือการให้การศึกษาแก่บุคคลประเภทใด?
 .  เกษตรกร  .  แม่บ้าน
 .  บุตรหลานเกษตรกร  .  ถูกทุกข้อ
 ตอบ ง. เกษตรกร แม่บ้าน บุตรหลานเกษตรกร


6.  งานส่งเสริมการเกษตรเกี่ยวข้องกับเรื่องใด?
 .  การปรับปรุงชุมชน  .  การพัฒนาความเป็นผู้นำ
 .  กิจการสาธารณประโยชน์ต่างๆ  .  ถูกทุกข้อ
 ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
7.  งานส่งเสริมการเกษตรไม่เกี่ยวข้องกับเรื่องใด?
 .  การปรับปรุงชุมชน  .  การพัฒนาความเป็นผู้นำ
 .  กิจการสาธารณประโยชน์ต่างๆ  .  ไม่มีคำตอบ
 ตอบ ง. ไม่มีคำตอบ
8.  วัตถุประสงค์ของการส่งเสริมการเกษตร ได้แก่?
 .  สร้างความเป็นพลเมืองที่ดี ภาคภูมิใจในอาชีพ
 .  เพื่อเผยแพร่ความรู้ทางวิชาการไปสู่เกษตรกร
 .  เพื่อกระตุ้นให้เกษตรกรทำการเกษตรเพื่อการบริโภคในครอบครัวขอตนเอง
 .  ถูกทุกข้อ
 ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
9.  ข้อใดกล่าวถูกต้อง?
 .  ปรัชญาของการส่งเสริมการเกษตรประยุกต์มาจากปรัชญาการศึกษา
 .  ปรัชญาของการส่งเสริมการเกษตรประยุกต์มาจากปรัชญาการเมือง
 .  ปรัชญาของการส่งเสริมการเกษตรประยุกต์มาจากปรัชญาจิตวิทยา
 .  ปรัชญาของการส่งเสริมการเกษตรประยุกต์มาจากปรัชญาเศรษฐศาสตร์
 ตอบ ก. ปรัชญาของการส่งเสริมการเกษตรประยุกต์มาจากปรัชญาการศึกษา
10.  ปรัชญา หมายถึง?
 .  ความรู้อันประเสริฐ ความรู้ที่ดีเลิศ ความรู้อันสูงสุด
 .  ความเชื่อ แนวคิด และทัศนคติทั่วไปของบุคคลหรือกลุ่ม
 .  การรวบรวมความรู้ที่ได้จากวิทยาศาสตร์ สาขาต่างๆมาไว้ในที่เดียวกัน
 .  ถูกทุกข้อ
 ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
11.  ปรัชญาการส่งเสริมการเกษตรกำหนดขึ้นเพื่อให้ใครได้ตระหนักและปฏิบัติตาม?
 .  ผู้บริหาร  .  เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร
 .  เกษตรกร  .  ข้อ ก. และ ข.
         ตอบ ง. ผู้บริหาร  เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร

ข้อสอบนิติกร

12. การกู้เงินโดยวิธีการออกตราสารหนี้ ให้ออกได้ตามสิ่งใด
ก. จำนวนเงิน                                                            ค. วิธีการออกตราสารหนี้ที่รัฐมนตรีประกาศกำหนด
ข. ระยะเวลา                                                              ง. ถูกทุกข้อ
13. ใครมีอำนาจลงนามในสัญญากู้ หนังสือหรือสัญญาค้ำประกัน หรือตราสารหนี้
ก. คณะกรรมการนโยบายและกำกับการบริหารหนี้สาธารณะ
ข. รัฐมนตรีหรือผู้ซึ่งรัฐมนตรีมอบหมาย
ค. คณะรัฐมนตรี
ง. สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
14. กระทรวงการคลังต้องรายงานการกู้เงินและการค้ำประกันที่กระทำในปีงบประมาณที่ล่วงมาแล้วให้รัฐสภาทราบภายในกี่วัน
ก. 30  วัน                                                                    ค.  45  วัน
ข. 60  วัน                                                                    ง.  90  วัน
15. ใครมีอำนาจปรับโครงสร้างหนี้สาธารณะโดยดำเนินการกู้เงินรายใหม่เพื่อชำระหนี้เดิม 
ก. สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ข. คณะกรรมการนโยบายและกำกับการบริหารหนี้สาธารณะ
ค. กระทรวงการคลัง
ง. คณะรัฐมนตรี
16. ข้อใด ไม่ใช่ วัตถุประสงค์การกู้เงินของกระทรวงการคลัง
ก. ปรับโครงสร้างหนี้สาธารณะ                           ค. พัฒนาประเทศให้เจริญก้าวหน้า
ข. ให้หน่วยงานอื่นกู้ต่อ                                         ง. พัฒนาตลาดตราสารหนี้ในประเทศ
17. การกู้เงินเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของกระทรวงการคลังกระทำได้เมื่อใด
ก. จำเป็นต้องใช้จ่ายเงินนอกเหนือจากงบประมาณรายจ่ายประจำปี
ข. จำเป็นต้องใช้เป็นเงินตราต่างประเทศ
ค. จำเป็นต้องกู้เงินเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงทางการเงินของประเทศ
ง. ถูกทุกข้อ
18. การกู้เงินเพื่อปรับโครงสร้างหนี้สาธารณะของกระทรวงการคลังกระทำได้เฉพาะเพื่ออะไร
ก. การประหยัด                                                         ค. กระจายภาระการชำระหนี้
ข. ลดความเสี่ยงในอัตราแลกเปลี่ยน                    ง. ถูกทุกข้อ
19. การกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณหรือเมื่อมีรายจ่ายสูงกว่ารายได้ในปีงบประมาณหนึ่ง ให้กระทรวงการคลังกู้เป็นเงินบาทไม่เกินวงเงินร้อยละเท่าใด
ก. ร้อยละ  20  ของงบประมาณรายจ่ายประจำปีที่ใช้บังคับอยู่ในขณะนั้นและงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม 
ข. ร้อยละ 50 ของงบประมาณรายจ่ายที่ตั้งไว้สำหรับชำระคืนเงินต้น
ค. ร้อยละ  80 ของงบประมาณรายจ่ายที่ตั้งไว้สำหรับชำระคืนเงินต้น
ง. ถูกเฉพาะข้อ  ก  และ   ค
20. กระทรวงการคลังทยอยกู้เงินเป็นการล่วงหน้าได้ไม่เกินกี่เดือน เมื่อเห็นว่าไม่สมควรกู้เงินเพื่อปรับโครงสร้างหนี้ที่มีจำนวนเงินมาก 
ก. ไม่เกิน   6  เดือน                                                  ค. ไม่เกิน   5  เดือน
ข. ไม่เกิน   3  เดือน                                                  ง. ไม่เกิน   12  เดือน