12. การกู้เงินโดยวิธีการออกตราสารหนี้ ให้ออกได้ตามสิ่งใด
ก. จำนวนเงิน
ค. วิธีการออกตราสารหนี้ที่รัฐมนตรีประกาศกำหนด
ข. ระยะเวลา ง. ถูกทุกข้อ
13. ใครมีอำนาจลงนามในสัญญากู้ หนังสือหรือสัญญาค้ำประกัน
หรือตราสารหนี้
ก. คณะกรรมการนโยบายและกำกับการบริหารหนี้สาธารณะ
ข. รัฐมนตรีหรือผู้ซึ่งรัฐมนตรีมอบหมาย
ค. คณะรัฐมนตรี
ง. สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
14. กระทรวงการคลังต้องรายงานการกู้เงินและการค้ำประกันที่กระทำในปีงบประมาณที่ล่วงมาแล้วให้รัฐสภาทราบภายในกี่วัน
ก. 30 วัน ค. 45 วัน
ข. 60 วัน ง. 90 วัน
15. ใครมีอำนาจปรับโครงสร้างหนี้สาธารณะโดยดำเนินการกู้เงินรายใหม่เพื่อชำระหนี้เดิม
ก. สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ข. คณะกรรมการนโยบายและกำกับการบริหารหนี้สาธารณะ
ค. กระทรวงการคลัง
ง. คณะรัฐมนตรี
16. ข้อใด ไม่ใช่ วัตถุประสงค์การกู้เงินของกระทรวงการคลัง
ก. ปรับโครงสร้างหนี้สาธารณะ ค. พัฒนาประเทศให้เจริญก้าวหน้า
ข. ให้หน่วยงานอื่นกู้ต่อ ง. พัฒนาตลาดตราสารหนี้ในประเทศ
17. การกู้เงินเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของกระทรวงการคลังกระทำได้เมื่อใด
ก. จำเป็นต้องใช้จ่ายเงินนอกเหนือจากงบประมาณรายจ่ายประจำปี
ข. จำเป็นต้องใช้เป็นเงินตราต่างประเทศ
ค. จำเป็นต้องกู้เงินเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงทางการเงินของประเทศ
ง. ถูกทุกข้อ
18. การกู้เงินเพื่อปรับโครงสร้างหนี้สาธารณะของกระทรวงการคลังกระทำได้เฉพาะเพื่ออะไร
ก. การประหยัด ค. กระจายภาระการชำระหนี้
ข. ลดความเสี่ยงในอัตราแลกเปลี่ยน ง. ถูกทุกข้อ
19. การกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณหรือเมื่อมีรายจ่ายสูงกว่ารายได้ในปีงบประมาณหนึ่ง
ให้กระทรวงการคลังกู้เป็นเงินบาทไม่เกินวงเงินร้อยละเท่าใด
ก. ร้อยละ 20
ของงบประมาณรายจ่ายประจำปีที่ใช้บังคับอยู่ในขณะนั้นและงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม
ข. ร้อยละ 50 ของงบประมาณรายจ่ายที่ตั้งไว้สำหรับชำระคืนเงินต้น
ค. ร้อยละ 80 ของงบประมาณรายจ่ายที่ตั้งไว้สำหรับชำระคืนเงินต้น
ง. ถูกเฉพาะข้อ ก และ ค
20. กระทรวงการคลังทยอยกู้เงินเป็นการล่วงหน้าได้ไม่เกินกี่เดือน เมื่อเห็นว่าไม่สมควรกู้เงินเพื่อปรับโครงสร้างหนี้ที่มีจำนวนเงินมาก
ก. ไม่เกิน 6 เดือน ค. ไม่เกิน 5 เดือน
ข. ไม่เกิน 3 เดือน ง.
ไม่เกิน 12 เดือน
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น