Custom Search

รายการบล็อก

วันอังคารที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

แนวข้อสอบนายช่างตรวจสภาพรถปฏิบัติงาน กรมการขนส่งทางบก

1. เครื่องยนต์ 4 จังหวะ ประกอบด้วยจังหวะการทำงานตามลำดับที่ถูกต้องคือลักษณะใด
. ระเบิด - คาย - อัด - ดูด
. ระเบิด - คาย - ดูด - อัด
. ดูด - คาย - ระเบิด - อัด
. ระเบิด - ดูด - คายอัด
ตอบ ข. ระเบิด - คาย - ดูด - อัด

2. เครื่องยนต์แก๊สโซลีนหัวเทียนจะจุดประกายไฟในตำแหน่งใด
. ลูกสูบเลื่อนขึ้น ถึงศูนย์ตายบนในจังหวะคาย
. ลูกสูบเลื่อนลง ถึงศูนย์ตายล่างในจังหวะระเบิด
. ลูกสูบเลื่อนลง หลังศูนย์ตายบนในจังหวะระเบิด
. ลูกสูบเลื่อนขึ้น ก่อนถึงศูนย์ตายบนในจังหวะอัด
ตอบ ง. ลูกสูบเลื่อนขึ้น ก่อนถึงศูนย์ตายบนในจังหวะอัด
3. หน้าที่ของแหวนลูกสูบคืออะไร
. ลดแรงดันในกระบอกสูบ
. ลดอาการสั่นของลูกสูบ
. ป้องกันแรงอัดรั่ว
. เพิ่มความแข็งแรงให้กับลูกสูบ
ตอบ ก. ลดแรงดันในกระบอกสูบ


4. ประแจชนิดใดที่ไม่ควรใช้ขันโบลท์หรือนัตจนแน่นเพราะจะทำให้หัวโบลท์หรือนัตเสีย
. ประแจปากตาย
. ประแจก๊อกแก๊ก
. ประแจแหวน
. ประแจกระบอก
ตอบ ก. ประแจปากตาย

5. ระยะพิทธ์ หมายถึง
. จำนวนเกลียวทั้งหมด
. ความยาวเกลียว
. ระยะห่างระหว่างยอดพันเกลียว
. เส้นผ่านศูนย์กลางโดนเกลียว
ตอบ ค. ระยะห่างระหว่างยอดพันเกลียว

6. วัตถุไวไฟไม่ควรเก็บไว้ในที่ใด
. โรงจอดรถ
. ห้องปั๊มน้ำ
. ห้องมอเตอร์ไฟฟ้า
. ห้องเก็บวัสดุอุปกรณ์
ตอบ ค. ห้องมอเตอร์ไฟฟ้า

7. เครื่องมือใดที่ใช้วัดทั้งขนาดความโตภายนอกภายในหรือความลึกของชิ้นงาน
. ไดอัลเกจ
. เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์
. ฟิลเลอร์เกจ
. บรรทัดเหล็ก
ตอบ ข. เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์

8. การเผาไหม้ไม่สมบูรณ์ดูได้จากอะไร
. ดูจากไอเสียจะมีสีขาว
. ดูจากไอเสียจะมีสีดำ
. ดูจากอาการสั่นของเครื่องยนต์
. ดูจากไอเสียจะมีสีฟ้าอ่อน
ตอบ ค. ดูจากอาการสั่นของเครื่องยนต์

9. การวัดความคดของเพลาลูกเบี้ยวใช้เครื่องมือใด
. ไดอัลเกจ
. ฟิลเลอร์เกจ
. ไมโครมิเตอร์
. เวอร์เนียร์คาร์ลิบเปอร์
ตอบ ก. ไดอัลเกจ

10. ไฟเตือนความดันน้ำมันหล่อลื่นสว่างขึ้นหรือกระพริบเกิดจากสาเหตุใด
. น้ำมันหล่อลื่นมีความหนืดสูงเกินไป
. น้ำมันหล่อลื่นสกปรกมาก
. น้ำมันหล่อลื่นลดลง
. ปริมาณน้ำมันหล่อลื่นสูงเกินกำหนด
ตอบ ค. น้ำมันหล่อลื่นลดลง

 11. มีน้ำมันเครื่องเข้าไปในระบบน้ำหล่อเย็นเกิดจากสาเหตุใด
. ปะเก็นฝาสูบรั่ว
. ปะเก็นอ่างน้ำมันเครื่องรั่ว
. เติมน้ำมันเครื่องเกินพิกัด
. ความดันน้ำมันเครื่องสูงเกินพิกัด
ตอบ ก. ปะเก็นฝาสูบรั่ว

12. น้ำมันเบรกหกถูกสีรถยนต์จะต้องทำอย่างไร
. รีบลาดด้วยน้ำร้อนล้างทันที
. รีบลาดด้วยน้ำเย็นล้างทันที
. รีบเช็ดด้วยผ้าสะอาด
. ผ้าชุบน้ำมันเบ็นซินเช็คให้สะอาด

ตอบ ข. รีบลาดด้วยน้ำเย็นล้างทันที

13. น้ำยาอิเล็กไตรไลท์ของแบตเตอร์รี่กระเด็นเข้าตาควรปฏิบัติอย่างไร
. ใช้ผ้าสะอาดเช็ดโดยทันที
. ใช้แอลกอฮอล์เช็ดโดยทันที
. ล้างด้วยน้ำสะอาดโดยทันที
. ใช้น้ำสบู่ล้างโดยทันที
ตอบ ค. ล้างด้วยน้ำสะอาดโดยทันที

14. เครื่องมือที่ใช้วัดความตึงสะพานคืออะไร
. Belt Filler Wrench
. Belt compressor gauge
. Belt strieng gauge
. Belt tension gauge
ตอบ ง. Belt tension gauge
15. สายพานไทมิ่งของเครื่องยนต์ควรเปลี่ยนเมื่อใด
. เมื่อครบอายุการใช้งานตามคู่มือกำหนด
. เมื่อเกิดเสียงดังขณะติดเครื่องยนต์
. เมื่อมีการเปลี่ยนรอกกดสายพาน

. เปลี่ยนทุก ๆ 50,000 กิโลเมตร
ตอบ ก. เมื่อครบอายุการใช้งานตามคู่มือกำหนด
1.      กระแสไฟฟ้าไหลผ่านร่างกายมนุษย์ 28-80 มิลลิแอมป์ ร่างกายของมนุษย์เกิดปฏิกิริยาอย่างไร

         ก.   กล้ามเนื้อเกร็ง

         ข.   หัวใจล้มเหลว

         ค.   ผิวหนังไหม้

         ง.   แค่รู้สึกกลัว

         ตอบ  ก.

2.      เครื่องมือวัดความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างจุดสองจุด มีชื่อเรียกว่าอะไร

         ก.   แอมมิเตอร์

         ข.   โวลต์มิเตอร์

         ค.   โอห์มมิเตอร์

         ง.   วัตต์มิเตอร์

         ตอบ  ข.

3.      ข้อใดไม่ใช่การไบอัสทรานซิสเตอร์

         ก.   ไบอัสคงที่

         ข.   ไบอัสคู่

         ค.   ไบอัสตัวเอง

         ง.   ไบอัสแบบแบ่งแรงดัน

ตอบ  ข.



4.      จากรูปมีค่าความจุเท่าใด

        

         ก.   50

         ข.   60

         ค.   70

         ง.   80

         ตอบ  ค.

5.      ขดลวดอาเมเจอร์ของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงมีหน้าที่อะไร

         ก.   สร้างอำนาจแม่เหล็กไฟฟ้า

         ข.   สร้างกระแสไฟฟ้า

         ค.   ใช้ลดความเร็วมอเตอร์

         ง.   ใช้เพิ่มแรงดันไฟฟ้า

         ตอบ   ก.

6.      ความเร็วของมอเตอร์ไฟตรงขึ้นอยู่กับอะไร

         ก.   ควบคุมกระแสที่ผ่านขดลวดอาเมเจอร์

         ข.   ปรับแรงดันที่จ่ายให้มอเตอร์

         ค.   ควบคุมการหมุน

         ง.   การสลับทิศทางการหมุน

ตอบ  ข.

7.      ปัจจุบันใช้การควบคุมมอเตอร์ด้วยวงจรอะไร

         ก.   วงจรพัลซ์วิธมอดูเลเตอร์

         ข.   วงจรบีเลเตอร์

         ค.   วงจรสวิตซ์เลเตอร์

         ง.   วงจรดูเลเตอร์

         ตอบ  ก.

8.      ไดโอตชนิดใดที่ใช้ในวงจรรักษาแรงดันไฟฟ้า

         ก.   ไดโอตเปล่งแสง

         ข.   ไดโอดกำลัง

         ค.   ใช้ในวงจรแปลงไฟสลับเป็นไฟตรง             

         ง.   ใช้ในงานแหล่งจ่ายกำลัง

         ตอบ  ง.

9.      Clapper Relay เป็นชื่อของรีเลย์ชนิดใด

         ก.   รีดสวิตซ์

         ข.   ไร้รีเลย์

         ค.   อาร์เมเจอร์รีเลย์

         ง.   โซลิสเตตรีเลย์

         ตอบ  ค.

10.    การต่อโวลต์มิเตอร์เพื่อวัดแรงดันไฟฟ้าที่ตกคร่อมอุปกรณ์ใดๆ จะต้องต่อแบบใด

         ก.   ต่อแบบอันดับ

         ข.   ต่อแบบขนาน

         ค.   ต่อได้ทั้งสองแบบ

         ง.   ต่อแบบขนาน และต้องปลดแหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้าออกจากวงจร

         ตอบ   ก.

1. กิจการศุลกากรของไทยเริ่มครั้งแรกในสมัยใด

 ก.  สมัยสุโขทัย  ข.   สมัยอยุธยา

 ค. สมัยธนบุรี  ง. สมัยกรุงรัตนโกสินทร์

คำตอบ  ก. กิจการศุลกากรของไทยมีมาตั้งแต่ครั้งโบราณกาลแล้ว ในสมัยสุโขทัยได้อาศัยการค้าขายเป็นปัจจัยสำคัญในการสร้างความมั่งคั่งของรัฐ จึงให้งดเว้นการเก็บภาษีศุลกากร  ดังปรากฏหลักฐานในหลักศิลาจารึก

 หลัก 1 ความว่า เมืองสุโขทัยนี้ดี ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว พ่อเมือง บ่ เอา จกอบ ในไพร่ลู่ทาง เพื่อจูงวัวไปค้า ขี่ม้าไปขาย ใครจักใคร่ค้าช้างค้า คำว่า จกอบ หรือจังกอบ คือภาษีที่เก็บจากสินค้าเข้าออก

2. ในสมัยอยุธยาภาษีศุลกากรนับว่าเป็นรายได้ที่สำคัญอย่างหนึ่ง อัตราที่จัดเก็บในชั้นแรกคืออะไร

 ก. สิบชักสี่   ข. สิบชักสาม

 ค. สิบชักสอง  ง. สิบชักหนึ่ง

 คำตอบ ง.  สิบชักหนึ่ง คือ สิบชัก

3. พันธกิจกรมศุลกากรคืออะไร

 ก. ยกระดับศุลกากรไทยสู่ศุลกากรมาตรฐานโลก ข. สนับสนุนความสามารถในการแข่งขัน

 ค. ปกป้องความปลอดภัยของสังคม ง. ถูกทุกข้อ

 คำตอบ  ง.  พันธกิจกรมศุลกากรไทย คือ

 1. ยกระดับศุลกากรไทยสู่ศุลกากรมาตรฐานโลก

 2. สนับสนุนความสามารถในการแข่งขัน

 3. ปกป้องความปลอดภัยของสังคม

4. นายเรือ หมายถึงใคร

 ก. บุคคลใดๆ ซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชา หรือควบคุมเรือ

 ข. บุคคลซึ่งเป็นเจ้าของเรือ

 ค. บุคคลที่ถือท้ายเรือ

 ง. ไม่มีข้อถูก

 คำตอบ ก.  นายเรือหมายถึง บุคคลใดๆซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาหรือควบคุมเรือ

5. ในปี พ.ศ.2369 ได้จัดทำสัญญาเบอร์นี่ขึ้น  ให้เก็บภาษีขาเข้า และขาออกจากปากเรือวาละกี่บาท

 ก. 1,500 บาท ข. 1,600 บาท

 ค. 1,700 บาท ง. 1,800 บาท

 คำตอบ  ค.  1,700 บาท

6. สัญญาเบอร์นี่ได้กำหนด หากเป็นเรือเปล่า ให้เก็บภาษีวาละ เท่าใด

 ก. 1,500 บาท  ข. 1,600 บาท

 ค. 1,700 บาท  ง. 1,800 บาท

7. สัญญาเบอร์นี่จัดทำขึ้นในสมัยรัชกาลใด

 ก. พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ข. พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

 ค. พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ง. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

 คำตอบ   ค.  พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว

8. ในการทำสัญญาเบาว์ริ่งกำหนดให้มีการเก็บภาษีสินค้าขาเข้าในอัตราร้อยชักสามเกิดขึ้นในสมัย

 รัชกาลใด

 ก. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ข. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

 ค. พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ง. พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

 คำตอบ   ก.  พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งในปี พ.ศ. 2398 ได้ให้มีการสร้างสัญญาเบาว์ริ่ง กำหนดให้เก็บภาษีสินค้าขาเข้าในอัตราร้อยชักสาม ส่วนสินค้าขาออกให้เก็บตามระบุในท้ายสัญญาเป็นชนิดไป

9. ตราพระราชบัญญัติศุลกากรฉบับแรก เกิดขึ้นเมื่อใด

 ก. 13 สิงหาคม พ.ศ. 2469 ข. 13 กันยายน พ.ศ. 2469

 ค. 13 กันยายน พ.ศ. 2469 ง. 13 ตุลาคม พ.ศ. 2469

 คำตอบ  ก.   13 สิงหาคม 2469 ในปี  พ.ศ. 2452  พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าพร้อมพงษ์อธิราช

 อธิบดีกรมศุลกากร และ มร.วิลเลี่ยม นันท์ ที่ปรึกษาได้จัดร่างกฎหมายวางระเบียบพิธีศุลกากร

 โดยอาศัยหลักกฎหมายของอังกฤษเป็นแม่แบบ แล้วส่งร่างดังกล่าวให้นานาประเทศพิจารณา

 ขอรับความเห็นชอบ ซึ่งใช้ระยะเวลาเพื่อการนี้ถึง 14 ปี จึงสามารถตราพระราชบัญญัติศุลกากร

 ฉบับแรกขึ้นได้

10. พิกัดอัตราศุลกากร ได้ออกกฎหมายฉบับแรกขึ้นเมื่อใด

 ก. 26 มีนาคม 2469 ข. 26 เมษายน 2469

 ค. 26 มิถุนายน 2469 ง. 26 สิงหาคม 2469

 คำตอบ ก. 26 มีนาคม 2469 



11. สถานที่ทำการศุลกากร โรงภาษีแห่งแรกตั้งอยู่ที่ใดและมีลักษณะเช่นใด

 ก. ตั้งอยู่ปากคลองตลาด เรือนปั้นหยา ข. ปากคลองผดุงกรุงเกษม เรือนปั้นหยา

 ค. ปากคลองมหานาค เรือนทรงไทย ง. ปากคลองภาษีเจริญ เรือนทรงไทย

 คำตอบ   ข. ปากคลองผดุงกรุงเกษม มีลักษณะเป็นเรือนปั้นหยาชั้นเดียว หันหน้าลงแม่น้ำ

12. สถานที่ทำการศุลกากร ได้จัดตั้งขึ้นครั้งแรกชื่อว่าอะไร

 ก. ศุลกสถาน ข. สุลกสถาน

 ค. ษุลกสถาน ง. ไม่มีข้อใดถูก

 คำตอบ  ก.  ศุลกสถาน โรงภาษีแห่งแรกตั้งอยู่ที่ปากคลองผดุงกรุงเกษม มีลักษณะเป็นเรือนปั้นหยาชั้นเดียว หันหน้าลงแม่น้ำ  เมื่อ พ.ศ. 2431 ได้ย้ายมาตั้งที่ริมแม่น้ำเจ้าพระยาเขตอำเภอบางรัก เดิมเป็นตึกแบบจีน ต่อมาสร้างเป็นเรือนปั้นหยา 2 หลัง หลังหนึ่งเป็นที่ทำการภาษีร้อยชักสาม อีกหลังหนึ่งเป็นที่บัญชาการข้าวขาออก ภายหลังได้สร้างที่ทำการศุลกากรขึ้นที่เดิมใช้ชื่อว่าศุลกสถาน แปลว่า ที่เก็บอากรขาเข้า ขาออก

13. ข้อใดหมายถึงพนักงานศุลกากร

 ก. บุคคลใดๆ ซึ่งรับราชการในกรมศุลกากร

 ข. นายทหารแห่งราชนาวี   หรือนายอำเภอ  หรือผู้ช่วยนายอำเภอ ซึ่งได้รับแต่งตั้งเป็นพิเศษให้

 กระทำแทนศุลกากร

 ค. พนักงานใดๆ ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้กระทำการเป็นพนักงานศุลกากร

 ง. ถูกทุกข้อ

 คำตอบ ง. พระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2469 มาตรา 2  กล่าวว่า พนักงานศุลกากร หมายถึง บุคคลใดๆ ซึ่งรับราชการในกรมศุลกากร หรือนายทหารแห่งราชนาวีหรือนายอำเภอ หรือผู้ช่วยนายอำเภอ ซึ่งได้รับแต่งตั้งเป็นพิเศษให้กระทำแทนศุลกากร และมาตรา 3  แห่งพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2480 พนักงานศุลกากรให้ความหมายรวมถึง พนักงานใดๆ ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้กระทำการเป็นพนักงานศุลกากรด้วย

14. กรมศุลกากรไทยได้รับการยกร่างครั้งแรกในสมัยของใคร

 ก. พระบรมวงศ์เธอพระองค์เจ้าพร้อมพงษ์อธิราช

 ข. พระบรมไตรโลกนาถ

 ค. สมเด็จพระนารายณ์มหาราช

 ง. พระเจ้าบรมวงศ์กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์

 คำตอบ ก.





15. การร่างได้ยึดถือแนวกฎหมายศุลกากรของประเทศใด

 ก. ฝรั่งเศส ข. อังกฤษ

 ค. เยอรมนี ง. ตุรกี

 คำตอบ    ข.
1. กฎหมายรัฐธรรมนูญที่เกี่ยวข้องกับสหกรณ์มีกี่มาตรา
ก. 2    มาตรา
ข. 3    มาตรา
ค. 4    มาตรา
ง. 5    มาตรา
2. พระราชบัญญัติสหกรณ์  พ.ศ. 2542   ถือใช้ตั้งแต่เมื่อไร
ก. 23   มีนาคม  2542
ข. 24   มีนาคม  2542
ค. 23   เมษายน  2542
ง. 24   เมษายน  2542
3. พระราชบัญญัติสหกรณ์  พ.ศ. 2542 มีทั้งสิ้นกี่มาตรา
ก. 136  มาตรา
ข. 137  มาตรา
ค. 138  มาตรา
ง. 139  มาตรา
4. ประธานกรรมการในคณะกรรการพัฒนาการสหกรณ์แห่งชาติคือใคร
ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ข. ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ค. อธิบดีกรมส่งเสริมสหกรณ์
ง. ประธานกรรมการสันนิบาตสหกรณ์แห่งประเทศไทย

5. ปัจจุบันนายทะเบียนสหกรณ์คือใคร
ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ข. ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ค. รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ที่ดูแลกรมส่งเสริมสหกรณ์
ง. อธิบดีกรมส่งเสริมสหกรณ์
6. การปฏิรูประบบราชการมีผลกระทบกับพระราชบัญญัติสหกรณ์  พ.ศ. 2542  ในเรื่องใด
ก. เปลี่ยนแปลงคำว่า กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ข. เปลี่ยนแปลงคำว่า ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ค. ถูกทั้งข้อ ก. และข้อ ข.
ง. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
7. การตรวจสอบกิจการและฐานะการเงินของสหกรณ์เป็นอำนาจหน้าที่ของผู้ใด
ก. นายทะเบียนสหกรณ์
ข. รองนายทะเบียนสหกรณ์
ค. ผู้ตรวจการสหกรณ์
ง. ผู้สอบบัญชี
8. กพส.  เป็นชื่อย่อของอะไรในพระราชบัญญัติสหกรณ์  พ.ศ. 2542
ก. คณะกรรมการพัฒนาการสหกรณ์แห่งชาติ
ข. กองทุนพัฒนาสหกรณ์
ค. กองทุนพัฒนาสหกรณ์แห่งชาติ
ง. คณะกรรมการกองทุนพัฒนาสหกรณ์
9. จำนวนของคณะผู้จัดตั้งสหกรณ์ตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 เป็นอย่างไร
ก. มีจำนวนไม่น้อยกว่า  15  คน
ข. มีจำนวนไม่น้อยกว่า  10  คน
ค. มีจำนวนไม่เกิน  15  คน
ง. มีจำนวนไม่เกิน  10  คน
10. การประชุมเพื่อจัดตั้งสหกรณ์ตามพระราชบัญญัติสหกรณ์  พ.ศ. 2542 มีการประชุมที่สำคัญรวม  กี่ครั้ง
ก. 1  ครั้ง
ข. 2  ครั้ง
ค. 3  ครั้ง
ง. ไม่จำกัดครั้ง
11. ผู้ที่ทำหน้าที่ผู้วินิจฉัยตีความในข้อบังคับตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 คือผู้ใดบ้าง
ก. นายทะเบียนสหกรณ์
ข. อธิบดีกรมส่งเสริมสหกรณ์
ค. สหกรณ์จังหวัด
ง. ถูกหมดทุกข้อ
12. ระเบียบของสหกรณ์ที่ต้องได้รับความเห็นชอบจากนายทะเบียนสหกรณ์คือ
ก. ระเบียบว่าด้วยการรับฝากเงินประเภทออมทรัพย์หรือประเภทประจำจากสมาชิกหรือสหกรณ์อื่น
ข. ระเบียบว่าด้วยการให้สหกรณ์อื่นกู้ยืมเงิน
ค. ถูกทั้งข้อ ก.  และข้อ ข.
ง. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
13. ตามพระราชบัญญัติสหกรณ์  พ.ศ.  2542  สหกรณ์มีคณะกรรมการดำเนินการทั้งสิ้นกี่คน
ก. 14  คน
ข. 15  คน
ค. เท่าใดก็ได้แต่ไม่เกิน  14  คน
ง. เท่าใดก็ได้แต่ไม่เกิน  15  คน
1. พ.ร.บ. ศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัวฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่เท่าใด
ก.   ฉบับที่  3                                    ค.  ฉบับที่   4
ข.   ฉบับที่  5                                    ง.   ฉบับที่  2
2.  “เด็ก”  ตามพ.ร.บ. ศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว หมายถึง
ก. บุคคลอายุยังไม่เกินสิบห้าปีบริบูรณ์                        ค. บุคคลอายุยังไม่เกินสิบแปดปีบริบูรณ์
ข. บุคคลอายุน้อยกว่าสิบห้าปีบริบูรณ์                          ง. บุคคลอายุยังไม่เกินสิบห้าปีบริบูรณ์

3. เยาวชน ตามพ.ร.บ. ศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว หมายถึง
ก. บุคคลอายุเกินสิบห้าปีบริบูรณ์ แต่ยังไม่ถึงยี่สิบปีบริบูรณ์
ข.  บุคคลอายุเกินสิบห้าปีบริบูรณ์ แต่ยังไม่ถึงสิบแปดปีบริบูรณ์
ค.  บุคคลอายุเกินสิบแปดปีบริบูรณ์ แต่ยังไม่ถึงยี่สิบปีบริบูรณ์
ง. บุคคลอายุเกินสิบแปดปีบริบูรณ์ แต่ยังไม่ถึงยี่สิบห้าปีบริบูรณ์

4. ข้อใด  คือ การแก้ไขบำบัดฟื้นฟู
ก. การรับคำปรึกษาแนะนำ                            ค. การเข้าร่วมเข้าร่วมกิจกรรมบำบัด
ข. การฝึกอาชีพ                                               ง.  ถูกทุกข้อ
5. ศาลเยาวชนและครอบครัวมีอำนาจพิจารณาพิพากษาหรือมีคำสั่งในคดีใดบ้าง
ก. คดีอาญาที่มีข้อหาว่าเด็กหรือเยาวชนกระทำความผิด
ข. คดีคุ้มครองสวัสดิภาพ
ค. คดีครอบครัว
ง. ถูกทุกข้อ
6. ศาลเยาวชนและครอบครัวกลางประกอบด้วยใครบ้าง
ก. อธิบดีผู้พิพากษา                                                         ค.  เลขานุการ
ข. รองอธิบดีผู้พิพากษา                                                 ง.  ถูกทุกข้อ

7. ศาลเยาวชนและครอบครัวกลางมีรองอธิบดีผู้พิพากษาศาลเยาวชนและครอบครัวกี่คน
ก.  1  คน                                                                            ค.  3  คน
ข. 2  คน                                                                             ง.  4   คน

8. เมื่อตำแหน่งอธิบดีผู้พิพากษาศาลเยาวชนและครอบครัวกลางว่างลงใครเป็นผู้ทำการแทน
ก.  รองอธิบดีผู้พิพากษา                                                 ค.  เลขานุการ
ข. ผู้พิพากษาผู้มีอาวุโสสูงสุดในศาล                           ง. ถูกทุกข้อ

9. เมื่อตำแหน่งผู้พิพากษาหัวหน้าศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดว่างลงใครเป็นผู้ทำการแทน
ก. รองอธิบดีผู้พิพากษา                                                   ค.  เลขานุการ
ข. ผู้พิพากษาผู้มีอาวุโสสูงสุดในศาล                           ง. ถูกทุกข้อ

10. ใครเป็นผู้รับผิดชอบงานของศาลเยาวชนและครอบครัวทั่วราชอาณาจักร
ก. อธิบดีผู้พิพากษา                                                         ค.  เลขานุการ
ข. รองอธิบดีผู้พิพากษา                                                 ง.  ผู้พิพากษาผู้มีอาวุโสสูงสุดในศาล