1. ใครเป็นผู้วางระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526
- คณะรัฐมนตรี
- คณะรัฐมนตรี
2. ข้อความใดเป็นความหมายของงานสารบรรณตามระเบียบนี้
-การเก็บรักษา , การรับ-การส่ง, การจัดทำ,การยืม,การทำลาย
-การเก็บรักษา , การรับ-การส่ง, การจัดทำ,การยืม,การทำลาย
3. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณที่ถือปฏิบัติในขณะนี้เป็นฉบับ พ.ศ.ใด
- พ.ศ. 2526
- พ.ศ. 2526
4. หนังสือราชการ คือ
- เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการ
- เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการ
5. หนังสือที่ต้องปฏิบัติให้เร็วกว่าปกติ แบ่งเป็นกี่ประเภท
- 3 ประเภท (ด่วน,ด่วนมาก,ด่วนที่สุด)
- 3 ประเภท (ด่วน,ด่วนมาก,ด่วนที่สุด)
6. ส่วนราชการใดมีความจำเป็นที่จะต้องปฏิบัติงานสารบรรณนอกเหนือไปจากที่กำหนดไว้ในระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 ให้ขอทำความตกลงกับใคร
- ปลัดสำนักนกยกรัฐมนตรี
- ปลัดสำนักนกยกรัฐมนตรี
7. หนังสือราชการตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ มีกี่ชนิด
- 6 ชนิด
- 6 ชนิด
8. หนังสือราชการคือ เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการมีกี่ประเภท
- 6 ประเภท
- 6 ประเภท
9. ถ้าผู้รับหนังสือเป็นรัฐมนตรีคำขึ้นต้นใช้คำว่าอะไร
- เรียน (คำลงท้าย..ขอแสดงความนับถือ)
- เรียน (คำลงท้าย..ขอแสดงความนับถือ)
10. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2548 ให้ใช้บังคับตั้งแต่เมื่อใด
- วันที่ 24 กันยายน 2548
- วันที่ 24 กันยายน 2548
11. หนังสือที่ติดต่อราชการเป็นแบบพิธีได้แก่หนังสือชนิดใด
- หนังสือภายนอก
- หนังสือภายนอก
12. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 ใช้บังคับแล้ว ให้ยกเลิกฉบับใดบ้าง
- ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2506
- ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลงชื่อในหนังสือราชการ พ.ศ. 2507
- ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลงชื่อในหนังสือราชการ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2516
- ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2506
- ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลงชื่อในหนังสือราชการ พ.ศ. 2507
- ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลงชื่อในหนังสือราชการ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2516
13. งานสารบรรณมีความหมายตรงกับอะไร
- งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร เริ่มตั้งแต่การจัดทำ การรับ การส่ง การเก็บรักษา การยืม จนถึงการทำลาย
- งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร เริ่มตั้งแต่การจัดทำ การรับ การส่ง การเก็บรักษา การยืม จนถึงการทำลาย
14. “หนังสือ” ตามระเบียบนี้ หมายความว่าอะไร
- หนังสือราชการ
- หนังสือราชการ
15. หนังสือประทับตราใช้สำหรับเรื่องใด
- การเตือนเรื่องที่ค้าง
- การขอรายละเอียดเพิ่มเติม
- การแจ้งผลงานให้ผุ้เกี่ยวข้องทราบ
- การเตือนเรื่องที่ค้าง
- การขอรายละเอียดเพิ่มเติม
- การแจ้งผลงานให้ผุ้เกี่ยวข้องทราบ
16. เจ้าของเรื่องจะเก็บหนังสือประเภทใดได้บ้าง
- เจ้าของเรื่องสามารถเก็บหนังสือทั้งที่เป็นต้นฉบับและสำเนาซึ่งเป็นหนังสือที่อยู่ในระหว่างปฏิบัติและหนังสือที่ปฏิบัติการเสร็จแล้วแต่ต้องเก็บไว้เพื่อใช้ในการตรวจสอบ
- เจ้าของเรื่องสามารถเก็บหนังสือทั้งที่เป็นต้นฉบับและสำเนาซึ่งเป็นหนังสือที่อยู่ในระหว่างปฏิบัติและหนังสือที่ปฏิบัติการเสร็จแล้วแต่ต้องเก็บไว้เพื่อใช้ในการตรวจสอบ
17. การทำสำเนาในระเบียบงานสารบรรณ พ.ศ.2526 ประกอบด้วยอะไรบ้าง
- สำเนาคู่ฉบับ หนังสือราชการเป็นหลักฐานที่สำคัญในราชการระเบียบงานสารบรรณจึงบังคับให้มีสำเนาคู่ฉบับไว้อย่างน้อย 1 ฉบับ
- การทำสำเนา กระทำได้หลายวิธี เช่น ถ่าย อัด คัด เป็นต้น
- เอกสารทางราชการจำเป็นต้องมีสำเนาซึ่งเป็นเรื่องที่ต้องส่งให้ผู้เกี่ยวข้องทราบหลายคน
- สำเนาคู่ฉบับ หนังสือราชการเป็นหลักฐานที่สำคัญในราชการระเบียบงานสารบรรณจึงบังคับให้มีสำเนาคู่ฉบับไว้อย่างน้อย 1 ฉบับ
- การทำสำเนา กระทำได้หลายวิธี เช่น ถ่าย อัด คัด เป็นต้น
- เอกสารทางราชการจำเป็นต้องมีสำเนาซึ่งเป็นเรื่องที่ต้องส่งให้ผู้เกี่ยวข้องทราบหลายคน
18. ผู้ที่จะทำงานสารบรรณได้ดีจำเป็นต้องรู้งานด้านธุรการในลักษณะใดบ้าง
- มีความรู้ด้านภาษาเป็นอย่างดี
- มีการติดต่อ โต้ตอบและประสานงานที่ดี
- รู้จักกาลเทศะ ความควรไม่ควร
- มีความรู้ด้านภาษาเป็นอย่างดี
- มีการติดต่อ โต้ตอบและประสานงานที่ดี
- รู้จักกาลเทศะ ความควรไม่ควร
19. หนังสือสั่งการ มีกี่ชนิด
- 3 ชนิด ได้แก่ คำสั่ง, ระเบียบ, ข้อบังคับ
20. หนังสือประชาสัมพันธ์มีกี่ชนิด
- 3 ชนิด ได้แก่ ประกาศ, แถลงการณ์, ข่าว
21. หนังสือรับรองรายงานการประชุมและหนังสืออื่นจัดอยู่ในหนังสือชนิดใด
- หนังสือที่เจ้าหน้าที่จัดทำขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการ
- หนังสือที่เจ้าหน้าที่จัดทำขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการ
22. การอ้างหนังสือที่มีทั้งชั้นความเร็วและชั้นความลับนั้น ข้อปฏิบัติที่ถูกต้องคือ
- อ้างชั้นความลับก่อนชั้นความเร็ว
- อ้างชั้นความลับก่อนชั้นความเร็ว
23. หนังสือราชการที่จัดทำขึ้นให้มีสำเนาคู่ฉบับไว้อย่างน้อยกี่ฉบับ
- 1 ฉบับ
- 1 ฉบับ
24. “อิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า
- การประยุกต์ใช้วิธีการทางอิเล็กตรอนไฟฟ้า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือวิธีอื่นใดในลักษณะคล้ายกัน
- การประยุกต์ใช้วิธีการทางแสง วิธีการทางแม่เหล็ก หรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการประยุกต์ใช้วิธีต่างๆเช่นว่านั้น
- การประยุกต์ใช้วิธีการทางอิเล็กตรอนไฟฟ้า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือวิธีอื่นใดในลักษณะคล้ายกัน
- การประยุกต์ใช้วิธีการทางแสง วิธีการทางแม่เหล็ก หรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการประยุกต์ใช้วิธีต่างๆเช่นว่านั้น
25. หนังสือประทับตราคือ
- หนังสือที่ใช้ประทับตราแทนการลงชื่อของหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมขึ้นไป โดยให้หัวหน้าส่วนราชการระดับกองหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมขึ้นไป เป็นผู้รับผิดชอบลงชื่อย่อกำกับตรา
- หนังสือที่ใช้ประทับตราแทนการลงชื่อของหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมขึ้นไป โดยให้หัวหน้าส่วนราชการระดับกองหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมขึ้นไป เป็นผู้รับผิดชอบลงชื่อย่อกำกับตรา
26. หนังสือประทับตราให้ใช้ได้ทั้งระหว่างส่วนราชการกับส่วนราชการ และระหว่างส่วนราชการกับบุคคลภายนอก เฉพาะกรณีที่ไม่ใช่เรื่องสำคัญ ได้แก่
- การขอรายละเอียดเพิ่มเติม
- การส่งสำเนาหนังสือ สิ่งของ เอกสาร หรือบรรณสาร
- การตอบรับทราบที่ไม่เกี่ยวกับราชการสำคัญหรือการเงิน
- การแจ้งผลงานที่ได้ดำเนินการไปแล้วให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องทราบ
- การเตือนเรื่องที่ค้าง
- เรื่องซึ่งหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมขึ้นไปกำหนด โดยทำเป็นคำสั่ง ให้ใช้หนังสือประทับตรา
- การขอรายละเอียดเพิ่มเติม
- การส่งสำเนาหนังสือ สิ่งของ เอกสาร หรือบรรณสาร
- การตอบรับทราบที่ไม่เกี่ยวกับราชการสำคัญหรือการเงิน
- การแจ้งผลงานที่ได้ดำเนินการไปแล้วให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องทราบ
- การเตือนเรื่องที่ค้าง
- เรื่องซึ่งหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมขึ้นไปกำหนด โดยทำเป็นคำสั่ง ให้ใช้หนังสือประทับตรา
27. ให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการเก็บหนังสือสำรวจหนังสือที่มีอายุครบการเก็บในปีนั้น และทำบัญชีหนังสือขอทำลายเสนอหัวหน้าส่วนราชการ ภายในกี่วัน
- 60 วัน หลังจากวันสิ้นปีปฏิทินนั้น
- 60 วัน หลังจากวันสิ้นปีปฏิทินนั้น
28. หนังสือที่ต้องปฏิบัติให้เร็วกว่าปกติ เป็นหนังสือที่ต้องจัดส่งและดำเนินการทางสารบรรณด้วยความรวดเร็วเป็นพิเศษ แบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
- 3 ประเภท ได้แก่ - ด่วนที่สุด (ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติในทันทีที่ได้รับหนังสือนั้น)
- ด่วนมาก (ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติโดยเร็ว
- ด่วน (ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติเร็วกว่าปกติ เท่าที่จะทำได้)
29. หนังสือที่ต้องปฏิบัติให้เร็วกว่าปกติ ต้องระบุชั้นความเร็ว และขนาดตัวอักษร อย่างไร
- ให้ระบุชั้นความเร็วด้วยตัวอักษรสีแดง ขนาดไม่เล็กกว่าตัวพิมพ์โป้ง 32 พอยท์ ให้เห็นได้ชัดบนหนังสือและบนซอง
- ให้ระบุชั้นความเร็วด้วยตัวอักษรสีแดง ขนาดไม่เล็กกว่าตัวพิมพ์โป้ง 32 พอยท์ ให้เห็นได้ชัดบนหนังสือและบนซอง
30. กรณีต้องการให้หนังสือส่งถึงผู้รับภายในเวลาที่กำหนด ควรระบุอะไรบ้าง
- ระบุคำว่า “ด่วนภายใน” แล้วลง วัน เดือน ปี และกำหนดเวลาที่ต้องการให้หนังสือนั้นไปถึงผู้รับ กับให้เจ้าหน้าที่ส่งถึงผู้รับซึ่งระบุบนหน้าซองภายในเวลาที่กำหนด
- ระบุคำว่า “ด่วนภายใน” แล้วลง วัน เดือน ปี และกำหนดเวลาที่ต้องการให้หนังสือนั้นไปถึงผู้รับ กับให้เจ้าหน้าที่ส่งถึงผู้รับซึ่งระบุบนหน้าซองภายในเวลาที่กำหนด
31. “ระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า
- การรับส่งข้อมูลข่าวสารหรือหนังสือผ่านระบบสื่อสารด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์
- การรับส่งข้อมูลข่าวสารหรือหนังสือผ่านระบบสื่อสารด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์
32. หนังสือที่ใช้ติดต่อราชการระหว่างส่วนราชการหรือส่วนราชการกับบุคคลภายนอกคือหนังสือใด
- หนือสือภายนอก
-หนังสือประทับตรา
- หนือสือภายนอก
-หนังสือประทับตรา
33. ผู้มีอำนาจให้บุคคลภายนอกยืมหนังสือคือใคร
- กระทำมิได้
- กระทำมิได้
34. ผู้มีอำนาจให้บุคคลภายนอกดูหรือคัดลอกหนังสือ คือใคร
- หัวหน้าส่วนราชการระดับกองขึ้นไป หรือผู้ทีได้รับมอบหมาย
- หัวหน้าส่วนราชการระดับกองขึ้นไป หรือผู้ทีได้รับมอบหมาย
35. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 ใช้บังคับแก่ใคร
- ใช้บังคับแก่ส่วนราชการ ( ส่วนราชการใดมีความจำเป็นที่จะต้องปฏิบัติงานสารบรรณนอกเหนือไปจากที่ได้กำหนดไว้ในระเบียบนี้ ให้ขอทำความตกลงกับผู้รักษาการตามระเบียบนี้)
- ใช้บังคับแก่ส่วนราชการ ( ส่วนราชการใดมีความจำเป็นที่จะต้องปฏิบัติงานสารบรรณนอกเหนือไปจากที่ได้กำหนดไว้ในระเบียบนี้ ให้ขอทำความตกลงกับผู้รักษาการตามระเบียบนี้)
36. ส่วนราชการ หมายความว่าอย่างไร
- กระทรวง ทบวง กรม สำนักงาน หรือหน่วยงานใดของรัฐ ทั้งในบริหารส่วนกลาง ราชการบริหารส่วนภูมิภาค ราชการบริหารส่วนท้องถิ่น หรือในต่างประเทศ และให้หมายความถึงคณะกรรมการด้วย
- กระทรวง ทบวง กรม สำนักงาน หรือหน่วยงานใดของรัฐ ทั้งในบริหารส่วนกลาง ราชการบริหารส่วนภูมิภาค ราชการบริหารส่วนท้องถิ่น หรือในต่างประเทศ และให้หมายความถึงคณะกรรมการด้วย
37. คณะกรรมการ หมายความว่าอย่างไร
- คณะบุคคลที่ได้รับมอบหมายจากทางราชการให้ปฏิบัติงานในเรื่องใดๆ และให้หมายรวมถึงคณะอนุกรรมการ คณะทำงาน หรือคณะบุคคลอื่นที่ปฏิบัติงานในลักษณะเดียวกัน
- คณะบุคคลที่ได้รับมอบหมายจากทางราชการให้ปฏิบัติงานในเรื่องใดๆ และให้หมายรวมถึงคณะอนุกรรมการ คณะทำงาน หรือคณะบุคคลอื่นที่ปฏิบัติงานในลักษณะเดียวกัน
38. คณะกรรมการดำเนินการทำลายหนังสือประกอบด้วยบุคคลอย่างน้อยกี่คน
- 3 คน (ประธานกรรมการ 1 คน และกรรมการอีกอย่างน้อย 2 คน)
- 3 คน (ประธานกรรมการ 1 คน และกรรมการอีกอย่างน้อย 2 คน)
39. คณะกรรมการทำลายหนังสือ โดยปกติให้แต่งตั้งจากข้าราชการตั้งแต่ระดับใด
- ระดับ 3 หรือเทียบเท่าขึ้นไป
- ระดับ 3 หรือเทียบเท่าขึ้นไป
40. ใครเป็นผู้แต่งตั้งคณะกรรมการทำลายหนังสือ
- หัวหน้าส่วนราชการระดับกรม
- หัวหน้าส่วนราชการระดับกรม
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น