Custom Search

รายการบล็อก

วันเสาร์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2556

แนวข้อสอบนักจัดการงานทั่วไปปฏิบัติการ กรมวิชาการเกษตร

1. ข้าราชการพลเรือน ตามกฎหมายใหม่ มีกี่ประเภท ได้แก่
ก. 2 ประเภท คือ ข้าราชการพลเรือนสามัญ และข้าราชการพลเรือนในพระองค์
ข. 3 ประเภท คือ ข้าราชการพลเรือนสามัญ ข้าราชการพลเรือนในพระองค์ และข้าราชการประจำต่างประเทศพิเศษ
ค. 4 ประเภท คือ ข้าราชการพลเรือนสามัญ ข้าราชการพลเรือนในพระองค์ และข้าราชการประจำต่างประเทศพิเศษและข้าราชการตุลาการ
ง. 5 ประเภท คือ ข้าราชการพลเรือนสามัญ ข้าราชการพลเรือนในพระองค์ และข้าราชการประจำต่างประเทศพิเศษ ข้าราชการตุลาการ และข้าราชการอัยการ
ตอบ ก. 2 ประเภท คือ ข้าราชการพลเรือนสามัญ และข้าราชการพลเรือนในพระองค์

2. นายนิคม อาการดี รับราชการเป็นเจ้าพนักงานตรวจเงินแผ่นดินอยู่ที่จังหวัดสกลนคร นายอาคมเป็นข้าราชการประเภทใด
ก. ข้าราชการพลเรือนสามัญ
ข. ข้าราชการประจำต่างประเทศพิเศษ
ค. ข้าราชการอัยการ
ง. ข้าราชการพลเรือสามัญ
ตอบ ก. ข้าราชการพลเรือนสามัญ

3. ผู้อำนวยการสำนักงานงบประมาณ เป็นข้าราชการประเภทใด
ก. ข้าราชการสำนักนายกรัฐมนตรี
ข. ข้าราชการประจำต่างประเทศพิเศษ
ค. ข้าราชการกระทรวงการคลัง
ง. ข้าราชการพลเรือนสามัญ
ตอบ ง. ข้าราชการพลเรือนสามัญ

4. ข้อใดมิใช่ “ข้าราชการพลเรือน”
ก. ข้าราชการในกระทรวงต่างประเทศ
ข. ข้าราชการในกระทรวงกลาโหม
ค. ข้าราชการในกระทรวงมหาดไทย
ง. ข้าราชการอัยการ
ตอบ ง. ข้าราชการอัยการ

5. ข้อใดมิใช่ “ข้าราชการพลเรือน”
ก. ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
ข. ข้าราชการปกครอง
ค. ข้าราชการตำรวจ
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ก. ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

6. ตำแหน่งใดเทียบเท่าตำแหน่ง “อธิบดี”
ก. เลขนุการ ก.พ. ข. ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ
ค. เลขาธิการคณะรัฐมนตรี ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ

7. หน่วยงานใดต่อไปนี้ที่มีหัวหน้าส่วนราชการรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี
ก. สำนักข่าวกรองแห่งชาติ ข. สำนักงบประมาณ
ค. สำนักคณะกรรมการการกฤษฎีกา ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ

8. ผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 คือ
ก. นายกรัฐมนตรี ข. เลขาธิการ ก.พ.
ค. รองนายกรัฐมนตรี ง. ประธานกรรมการ ก.พ.
ตอบ ก. นายกรัฐมนตรี

9. ก.พ. ประกอบด้วยกรรมการไม่เกินกี่คน
ก. 3 คน ข. 5 คน
ค. 7 คน ง. 12 คน
ตอบ ง. 12 คน

10. ผู้ใดดำรงตำแหน่งประธานกรรมการ ก.พ.
ก. รองนายกรัฐมนตรีที่ได้รับมอบหมาย
ข. รัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย
ค. รัฐมนตรีสำนักงานนายกรัฐมนตรีที่ได้รับมอบหมายจากนายกรัฐมนตรี
ง. เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ตอบ ก. รองนายกรัฐมนตรีที่ได้รับมอบหมาย

11. กรรมการ ก.พ. ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งอยู่ในตำแหน่งคราวละกี่ปี
ก. 2 ปี ข. 3 ปี
ค. 4 ปี ง. 5 ปี
ตอบ ข. 3 ปี

12. เมื่อตำแหน่งกรรมการว่างลงก่อนกำหนดต้องดำเนินการแต่งตั้งภายในกี่วัน
ก. 30 วัน ข. 15 วัน
ค. 20 วัน ง. 45 วัน
ตอบ ก. 30 วัน

13. หากกรรมการ ก.พ. ว่างลงจะไม่แต่งตั้งกรรมการ ในกรณีใด
ก. วาระของกรรมการเหลืออยู่ไม่ถึง 60 วัน ข. วาระของกรรมการเหลืออยู่ไม่ถึง 90วัน
ค. วาระกรรมการเหลืออยู่ไม่ถึง 120 วัน ง. วาระกรรมการเหลืออยู่ไม่ถึง 180 วัน
ตอบ ง. วาระกรรมการเหลืออยู่ไม่ถึง 180 วัน

14. เมื่อนายกรัฐมนตรีได้รับรายงานจาก ก.พ. ในกรณีที่กระทรวงทบวงกรมไม่ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติข้าราชการพลเรือน และนายกรัฐมนตรีไม่เห็นด้วยกับมติของ ก.พ. ที่รายงาน ก.พ. จะต้องดำเนินการอย่างไร
ก. ทำตามความเห็นของนายกรัฐมนตรี
ข. ยืนยันให้นายกรับมนตรีทบทวนใหม่
ค. ต้องรายงานให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาวินิจฉัย
ง. เรียกประชุมคณะกรรมการเพื่อขอถอนเรื่องกลับมาพิจารณาข้อมูลใหม่
ตอบ ค. ต้องรายงานให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาวินิจฉัย

15. หน่วยงานใดที่มีหน้าที่รายงานคณะรัฐมนตรีในกรณีที่ค่าครองชีพเปลี่ยนแปลงไปมาก หรือจัดการสวัสดิการปรับปรุงเงินเดือนสำหรับข้าราชการพลเรือนให้เหมาะสม
ก. กรมบัญชีกลาง
ข. ก.พ.
ค. สำนักงบประมาณ
ง. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ตอบ ข. ก.พ.
1. องค์ประกอบของศาสนาที่สำคัญที่สุดทุกศาสนาต้องมี คืออะไร
ตอบ  คำสอน
2. ศาสนาพุทธ หรือ พระพุทธศาสนา  หมายถึงอะไร
ตอบ   ศาสนาแห่งความรู้แจ้ง เป็นศาสนาที่มีพระรัตนตรัย เป็นสรณะอันสูงสุด อันได้แก่ พระพุทธเจ้า พระธรรม และ พระสงฆ์ 
3. พระศาสดาของศาสนาพุทธคือใคร
ตอบ  พระโคตมพุทธเจ้า พระนามเดิมว่า เจ้าชายสิทธัตถะ
4. ศาสนาพุทธเป็นศาสนาแบบใด
ตอบ  อเทวนิยม   คือเชื่อว่าไม่มีพระเจ้าและเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ด้วยความเพียรของตน
5. คำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่าอะไร
6. วัตถุประสงค์สูงสุดของศาสนาพุทธ คืออะไร
ตอบ   การหลุดพ้นจากความทุกข์ทั้งปวงและวัฏจักรการเวียนว่ายตายเกิด
7. หลักธรรมคำสอนทางพุทธศาสนาได้ถูกบันทึกรวบรวมไว้ในคัมภีร์ชื่ออะไร
ตอบ    พระไตรปิฏก   อันประกอบด้วย "พระธรรม" คือความรู้ในสัจธรรมต่างๆ ที่พระพุทธเจ้าทรงได้ตรัสรู้ด้วยพระองค์เอง แล้วนำมาแสดงแก่ชาวโลก กับ "พระวินัยคือข้อบังคับต่างๆ ที่ทรงบัญญัติไว้
8. พุทธบริษัท 4  คือ
ตอบ   ภิกษุสงฆ์ ภิกษุณีสงฆ์ อุบาสก อุบาสิกา
9. หัวใจของพุทธศาสนาคือ อะไร
ตอบ  หมั่นทำความดี ละเว้นความชั่ว ทำจิตใจให้บริสุทธิ์
10. ศาสนาพุทธ แบ่งออกเป็นกี่นิกาย
ตอบ  นิกาย  คือ  เถรวาท หรือ หินยาน และ มหายาน 
11. พระพุทธเจ้าทรงตรัสรู้ด้วยวิธีการใด
ตอบ  บำเพ็ญเพียรทางจิต
12. พระพุทธเจ้าตรัสรู้หลักธรรมใด
ตอบ  อริยสัจ ๔
13. โครงสร้างของพระพุทธศาสนาประกอบด้วยอะไรบ้าง
ตอบ   พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์
1. ทางหลวงในประเทศไทยแบ่งออกเป็นกี่ประเภท ตามพระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ. 2535
ก. 3 ประเภท                                                       ค.5 ประเภท 
ข. 4 ประเภท                                                       ง.6 ประเภท 
ตอบ ง. 6 ประเภท

2. คอนกรีต1ลูกบาศก์เมตร หนักเท่าไหร่
ก. 1000 กก.                                                         ค.2400 กก.
ข. 1500 กก.                                                         ง.2300 กก.
ตอบ ค. 2400 กก.

3. การถอดปริมาณงานเหล็กคิดหน่วยเป็นอะไร
ก. เส้น                                                                   ค.ตารางเมตร
ข. ตัน                                                                     ง.ลบ.ม
ตอบ ข. ตัน

4. เสาเข็มขนาด0.30x0.30เมตร ยาว 10 เมตร จะต้องใช้ไม้แบบกี่ตารางเมตร
ก. 12.15 ตร.ม.                                                    ค. 13.50 ตร.ม.
ข. 12.00 ตร.ม.                                                    ง. 10.00 ตร.ม.
ตอบ ข. 12.00 ตร.ม.


6. ปูนชิเมตร์ตามมาตรฐานASTMมีกี่ประเภท
ก. 2 ประเภท                                                        ค.4 ประเภท
ข. 3 ประเภท                                                        ง.5 ประเภท
ตอบ ง. 5 ประเภท

    

  7. เมื่อท่านต้องไปสร้างสะพาน  บริเวณใกล้น้ำทะเล ท่านจะเลือกใช้ปูนประเภทไหน
  ก.ปูนปอร์ตแลนด์ประเภททนซัลเฟตสูง
  ข.ปูนปอร์ตแลนด์ประเภททนซัลเฟตปานกลาง
  ค.ปูนปอร์ตแลนด์ประเภททนความร้อนต่ำ
  ง.ปูนปอร์ตแลนด์ประเภททนความดันสูง
  ตอบ ก.ปูนปอร์ตแลนด์ประเภททนซัลเฟตสูง
1. พระราชบัญญัติสุรา พ..2493 ให้ไว้ ณ วันใด
ก. มีนาคม 2493                                                     ค. มีนาคม 2493
ข. มีนาคม 2493                                                     ง. มีนาคม 2493
ตอบ   ข. มีนาคม 2493
2. พระราชบัญญัติสุรา พ..2493  มีกี่มาตรา
ก. 6 หมวด  47  มาตรา                                             ค. 8  หมวด  47  มาตรา
ข. 7  หมวด  47  มาตรา                                            ง. 8  หมวด  74  มาตรา
ตอบ  ค. 8  หมวด  47  มาตรา
3. หมวดที่  2 ในพระราชบัญญัติสุรา พ..2493 ว่าด้วยเรื่องใด
ก. ภาษีสุรา
ข. การทำสุรา และการนำสุราเข้ามาในราชอาณาจักร
ค. การขายสุรา
ง. บทกำหนดโทษ
ตอบ    ก. ภาษีสุรา
4. "สุราหมายถึง
ก. วัตถุทั้งหลายหรือของผสมที่มีแอลกอฮอล์
ข. วัตถุทั้งหลายหรือของผสมที่มีแอลกอฮอล์ซึ่งสามารถดื่มกินได้เช่นเดียวกับน้ำสุรา
ค. วัตถุทั้งหลายหรือของผสมที่มีแอลกอฮอล์ซึ่งดื่มกินไม่ได้ แต่เมื่อได้ผสมกับน้ำหรือของเหลวอย่างอื่นแล้ว สามารถดื่มกินได้เช่นเดียวกับน้ำสุรา
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ    ง. ถูกทุกข้อ
"สุราหมายความรวมถึงวัตถุทั้งหลายหรือของผสมที่มีแอลกอฮอล์ซึ่งสามารถดื่มกินได้เช่นเดียวกับน้ำสุราหรือซึ่งดื่มกินไม่ได้ แต่เมื่อได้ผสมกับน้ำหรือของเหลวอย่างอื่นแล้ว สามารถดื่มกินได้เช่นเดียวกับน้ำสุรา
5. ห้ามมิให้ผู้ใดทำสุรา หรือมีภาชนะหรือเครื่องกลั่นสำหรับทำสุราไว้ในครอบครองเว้นแต่จะได้รับใบอนุญาตจากใคร
ก. เจ้าพนักงานสรรพสามิต                                    ค. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
ข. อธิบดีกรมสรรพสามิต                                        ง. นายกรัฐมนตรี
ตอบ   ข. อธิบดีกรมสรรพสามิต
มาตรา 5 ห้ามมิให้ผู้ใดทำสุรา หรือมีภาชนะหรือเครื่องกลั่นสำหรับทำสุราไว้ในครอบครองเว้นแต่จะได้รับใบอนุญาตจากอธิบดีการออกใบอนุญาตให้ทำสุราสำหรับใช้ในบ้านเรือน ให้เป็นไป
ตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
6. ห้ามมิให้ผู้ใดนำสุราเกินกว่าหนึ่งลิตรเข้ามาในราชอาณาจักร เว้นแต่จะได้รับใบอนุญาตจากใคร
ก. เจ้าพนักงานสรรพสามิต                                    ค. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
ข. อธิบดีกรมสรรพสามิต                                        ง. นายกรัฐมนตรี
ตอบ  ก. เจ้าพนักงานสรรพสามิต
7. การเสียภาษีสุรากระทำได้โดย
ก. จ่ายเงินให้กับพนักงานเจ้าหน้าที่                    
ข. ปิดแสตมป์สุราที่ฝา
ค. ปิดแสตมป์สุราที่ภาชนะบรรจุสุรา                  
ง. ปิดแสตมป์สุราที่ภาชนะบรรจุสุราในความควบคุมของพนักงานเจ้าหน้าที่
ตอบ    ง. ปิดแสตมป์สุราที่ภาชนะบรรจุสุราในความควบคุมของพนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา 7(3) ผู้ได้รับใบอนุญาตทำสุรานอกจากทำสุราสำหรับใช้ในบ้านเรือนต้องเสียภาษีสำหรับสุราที่ทำได้ก่อนขนสุราออกจากโรงงานตามอัตราที่กำหนดในกฎกระทรวง การเสียภาษีให้กระทำโดยการปิดแสตมป์สุราที่ภาชนะบรรจุสุราในความควบคุมของพนักงานเจ้าหน้าที่ เว้นแต่ในกรณีที่รัฐมนตรีเห็นสมควรเพื่อประโยชน์ในการจัดเก็บภาษีจะกำหนดวิธีการเสียภาษีโดยวิธีอื่นโดย
ออกเป็นกฎกระทรวงก็ได้
8. ผู้นำสุราเข้ามาในราชอาณาจักรจะต้องเสียภาษีสุราโดยปิดแสตมป์สุราที่ภาชนะบรรจุสุราตามอัตราที่กำหนดไว้ในกฎกระทรวง เว้นแต่สุรานั้นมีปริมาณไม่เกินกี่ลิตร
ก. 1  ลิตร                                                                    ค. 5  ลิตร
ข. 10  ลิตร                                                                  ง. 3  ลิตร
ตอบ   ก. 1  ลิตร           

แนวข้อสอบกรมชลประทาน

1. งานชลประทาน เริ่มขึ้นอย่างจริงจังในรัชสมัยใด
ก. รัชกาลที่   6                                                                                          ค. รัชกาลที่  4
ข. รัชกาลที่   3                                                                                          ง.  รัชกาลที่  5
ตอบ  ง.  รัชกาลที่  5 (พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว)
2. นายเย โฮมัน วันเดอร์ ไฮเด  คือใคร
ก. วิศวกรชลประทานชาวฮอลันดาที่ได้รับการว่าจ้างมาดำเนินงานชลประทานในประเทศไทย
ข. เจ้ากรมคลองคนแรกที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ เพื่อทำหน้าที่ดูแลทำนุบำรุงคลองต่างๆ
ค. ถูกเฉพาะ  ข
ง. ถูกทั้ง  ก  และ  ข
ตอบ  ง. ถูกทั้ง  ก  และ  ข
3. ในรัชสมัยใดที่ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้ง"กรมทดน้ำ"ขึ้นแทนกรมคลอง
ก. รัชกาลที่   6                                                                                          ค. รัชกาลที่  4
ข. รัชกาลที่   3                                                                                          ง.  รัชกาลที่  5
ตอบ  ก. รัชกาลที่   6     (พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว)
4. จากข้อ  3  ให้จัดตั้งกรมทดน้ำขึ้นเมื่อใด
ก. 29 กันยายน 2459                                                                               ค. 29  ตุลาคม  2459
ข. 30 กันยายน 2459                                                                               ง. 30  ตุลาคม 2459
ตอบ ข. 30 กันยายน 2459
5. โครงการชลประทานขนาดใหญ่แห่งแรกในประเทศไทย คือเขื่อนใด
ก. เขื่อนลำปาว                                                                                          ค. เขื่อนภูมิพล
ข. เขื่อนป่าสัก                                                                                           ง. เขื่อนพระราม 
ตอบ  ง. เขื่อนพระราม 
6. เขื่อนพระราม 6  อยู่ที่จังหวัดใด
ก. พระนครศรีอยุธยา                                                                              ค. กาฬสินธุ์
ข. ตราด                                                                                                      ง. ลพบุรี
ตอบ  ก. พระนครศรีอยุธยา  (เขื่อนพระราม 6  อยู่ที่ตำบลท่าหลวง อำเภอท่าเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา)
7. รัชกาลที่  7  ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนชื่อจาก กรมทดน้ำ เป็น กรมชลประทาน เมื่อใด
ก.  21  มกราคม  2476                                                                            ค. 21  มีนาคม  2476
ข.  20  มกราคม  2476                                                                            ง. 20  มีนาคม  2476
ตอบ  ค. 21  มีนาคม  2476